กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรักสุขภาพด้วยสมุนไพรท้องถิ่น
รหัสโครงการ 64-L1542-2-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านตะเสะ
วันที่อนุมัติ 30 กันยายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 11 มีนาคม 2564 - 11 กุมภาพันธ์ 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 เมษายน 2564
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกัลยา เหลือแดง
พี่เลี้ยงโครงการ นายกิตติศักดิ์ บุญทอง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.033,99.449place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 11 มี.ค. 2564 11 มี.ค. 2564 10,000.00
รวมงบประมาณ 10,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

บ้านตะเสะมีพื้นที่ป่าธรรมชาติชายหาดที่ประกอบไปด้วยพืชชายทะเล ทำให้ ต้นเหงือกปลาหมอ ต้นขลู่ เสลดพังพอน ต้นไมระราบ ต้นข่า ตะไคร้ หัวไพร หญ้าแง้วหมู ต้นสาบเสือ มะกรูด ,มะนาว ต้นฯลฯ  เกิดขึ้นมากมายตามธรรมชาติซึ่งพืชเหล่านี้เป็น  พืชสมุนไพรที่มีค่าอย่างยิ่งสำหรับคนในชุมชนที่สามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ น้อยคนที่คนในชุมชนทราบถึงความสำคัญของสมุนไพรแต่ละชนิดในพื้นที่ หรือแม้นกระทั่งชื่อของสมุนไพรเยาวชนบางคนยังเรียกไม่ถูกพร้อมยังทราบถึงคุณค่าประโยชน์ในสมุนไพรเหล่านี้    ดังนั้น  อาสาสมัครสาธารณสุขหมูบ้าน บ้านตะเสะ จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้นเพื่อให้คนในชุมชน สามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้คนในชุมชนรู้ถึงประโยชน์ของสมุนไพรในท้องถิ่นและสามารถทำชาสมุนไพรจากต้นเหงือกปลาหมอได้

ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการมีรู้จักสมุนไพรและนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 30 10,000.00 1 10,000.00 0.00
11 มี.ค. 64 โครงการรักสุขภาพด้วยสมุนไพรท้องถิ่น 30 10,000.00 10,000.00 0.00
รวมทั้งสิ้น 30 10,000.00 1 10,000.00 0.00
  1. จัดทำโครงการเสนอประธานกองทุน สปสช. อบต.ตะเสะ เพื่อใช้อำนาจอนุมัติ   2. จัดกิจกรรม 2 กิจกรรม         กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าของสมุนไพร / การนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์
          กิจกรรมที่ 2 ทำสมุนไพรในท้องถิ่นมาทำชาเพื่อสุขภาพ
      3. มอบหมายผู้รับผิดชอบจัดทำรายงานผลหลังเสร็จสิ้นโครงการฯ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ถึงประโยชน์ของสมุนไพรในท้องถิ่น   2. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถทำทำชาสมุนไพรดื่มเพื่อดูแลสุขภาพได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ต.ค. 2563 11:45 น.