กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้ประการการรอบรู้ ผู้บริโภคปลอดภัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยเรือ ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.บ้านห้วยเรือ

ชื่อโครงการ โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้ประการการรอบรู้ ผู้บริโภคปลอดภัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยเรือ

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3339-01-10 เลขที่ข้อตกลง 0021/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้ประการการรอบรู้ ผู้บริโภคปลอดภัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยเรือ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้ประการการรอบรู้ ผู้บริโภคปลอดภัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยเรือ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้ประการการรอบรู้ ผู้บริโภคปลอดภัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยเรือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3339-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนด้านการสาธารณสุขในอดีตมีนโยบายพัฒนานโยบายการสาธารณสุขที่เน้นในการให้บริการรักษาพยาบาลเป็นหลัก มีการขยายบริการโดยการสร้างสถานบริการสาธารณสุขระดับต่างๆ ให้ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศจนกระทั่งมีการกำหนดทิศทางการพัฒนามาสู่นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อพัฒนาการสาธารณสุขให้ครอบคลุมทั้งด้านการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีเป้าหมายการพัฒนาให้ได้มาตรฐานเสมอภาคและเท่าเทียมกันโดยกำหนดยุทธศาสตร์นโยบายและแผนเพื่อให้มีการดูแลประชาชนอย่างทั่วถึงสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนในการดูแลสุขภาพคนไทยตื่นตัวและเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย การดูแลด้านอาหารและโภชนาการ การดูแลจัดการบริหารจิตและอารมณ์ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เพื่อลดโรคและความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ และหัวใจโรคเบาหวาน ภาวะอ้วนลงพุงและมะเร็งเป็นต้น ตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ เป็นต้นมา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยเรือ ตำบลหารเทา ได้ดำเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคกิจกรรมต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม เช่น การเฝ้าระวังสิ่งปลอมปนในอาหารสดการเฝ้าระวังอาหารทอดซ้ำการสำรวจร้านชำและประเมินร้านชำคุณภาพการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน พบว่าผู้ประกอบการแต่ละกิจกรรมการมีคุณภาพโดยรวมในระดับหนึ่งที่สามารพัฒนาให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัยเพื่อเป็นหลักประกันความปลอดภัยให้กับประชาชนในชุมชนได้เกี่ยวกับอาหารยา เครื่องสำอาง วัตถุมีพิษที่ใช้ในครัวเรือน สารปรุงแต่งอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร เป็นต้น ซึ่งแหล่งผลิตและการประกอบการเหล่านี้เป็นที่มาของอาหารและผลิตภัณฑ์ที่ชุมชนนำมาสู่การบริโภคในครัวเรือนที่ไม่ได้มาตรฐานจากร้านชำในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอาง ที่ไม่ได้คุณภาพ จำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชนและยังจำหน่ายยาบางชนิดที่กฎหมายห้ามไม่ให้จำหน่ายได้ในร้านชำซึ่งผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ที่ชัดเจนเกี่ยวกับการเลือก ผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอาง ที่มีคุณภาพ ความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิดที่สามารถจำหน่ายได้ในร้านชำ และจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชนได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยเรือ ตำบลหารเทา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของงานคุ้มครองผู้บริโภคจึงได้จัดทำ โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้ประกอบการรอบรู้ ผู้บริโภคปลอดภัย เพื่อพัฒนาคุณภาพร้านขายของชำ และผู้ประกอบการด้านอาหารในชุมชนให้ได้ตามเกณฑ์คุณภาพรับรองเพื่อให้สามารถเป็นแหล่งอาหารและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องแก่ชุมชนได้ อันจะส่งผลให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพดีในอีกองค์ประกอบหนึ่งที่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าองค์ประกอบด้านอื่นๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออบรม/ฟื้นฟูความรู้แกนนำชุมชน และผู้ประกอบการร้านชำและผู้ประกอบการด้านอาหาร
  2. เพื่อส่งเสริมให้ร้านชำและผู้ประกอบการด้านอาหาร พัฒนากิจการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
  3. เพื่อสนับสนุนให้ชมรม /เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจร้านชำในพื้นที่
  2. ประชุมบุคลากรสาธารณสุข อสม. และแกนนำชุมชน
  3. อบรมผู้ประกอบการและคณะทำงาน จำนวน 80 คน
  4. ติดตามพัฒนา และการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.มีแกนนำและเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคที่เข้มแข็ง ๒.หมู่บ้าน/ชุมชน มีร้านชำคุณภาพและมีการประกอบการด้านอาหารอื่นๆ ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ครอบคลุมและเป็นรูปธรรม ๓.ประชาชนเข้าถึงสินค้าที่มีคุณภาพได้มากขึ้น
๔.สุขภาพของประชาชนดีขึ้นมีความรัก สามัคคี และสัมพันธภาพที่ดีในหมู่คณะ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่ออบรม/ฟื้นฟูความรู้แกนนำชุมชน และผู้ประกอบการร้านชำและผู้ประกอบการด้านอาหาร
ตัวชี้วัด : - มีแกนนำชุมชนและผู้ประกอบการร้านชำและผู้ประกอบการด้านอาหาร ๑.แกนนำชุมชน จำนวน ๓ หมู่บ้าน รวม ๓๐ คน ๒.ผู้ประกอบการร้านชำ ๑๙ คน ๓.ผู้ประกอบการด้านอาหาร ๑๑ คน ๔.ตัวแทนเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในสถานศึกษา ๒๐ คน
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ร้านชำและผู้ประกอบการด้านอาหาร พัฒนากิจการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : มีร้านชำคุณภาพ และสถานประกอบการด้านอาหารในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่พัฒนาได้ตามเกณฑ์ ครอบคลุม ร้อยละ ๙๐
0.00

 

3 เพื่อสนับสนุนให้ชมรม /เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด : ชมรม/เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค มีการพัฒนาได้ตามเกณฑ์ มีคณะกรรมการดำเนินการ มีกองทุน และกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรม/ฟื้นฟูความรู้แกนนำชุมชน และผู้ประกอบการร้านชำและผู้ประกอบการด้านอาหาร (2) เพื่อส่งเสริมให้ร้านชำและผู้ประกอบการด้านอาหาร พัฒนากิจการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน (3) เพื่อสนับสนุนให้ชมรม /เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจร้านชำในพื้นที่ (2) ประชุมบุคลากรสาธารณสุข อสม. และแกนนำชุมชน (3) อบรมผู้ประกอบการและคณะทำงาน จำนวน 80 คน (4) ติดตามพัฒนา และการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร้านชำคุณภาพ ผู้ประการการรอบรู้ ผู้บริโภคปลอดภัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยเรือ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3339-01-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( รพ.สต.บ้านห้วยเรือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด