กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพในชุมชน รพ.สต.บ้านทะเลเหมียง ปีงบประมาณ2564
รหัสโครงการ 64-L3339-01-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทะเลเหมียง
วันที่อนุมัติ 13 พฤศจิกายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2563 - 31 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 15 กันยายน 2546
งบประมาณ 18,796.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านทะเลเหมียง
พี่เลี้ยงโครงการ นางวาลัยพร ด้วงคง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 52 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ด้วยกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง รวมทั้งอาหารเสริมในร้านชำ วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคในชุมชน เนื่องจากพบว่าในหมู่บ้าน ยังพบว่ามีร้านค้าในชุมชน หรือรถเร่นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ไม่มีฉลากภาษาไทยมาจำหน่ายแก่ชาวบ้าน ประกอบกับในปัจจุบันมีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพเกินจริง ผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภค อาจตกเป็นเหยื่อหรือเกิดอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานจากการหลงเชื่อโฆษณาดังกล่าว ดังนั้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทะเลเหมียงจึงจัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนวัตถุประสงค์เพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน การโฆษณาชวนเชื่อการเฝ้าระวังร้านชำขายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของชาวบ้านในชุมชน เพื่อให้ชุมชนปลอดภัยจากบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำมีความรู้ในการเก็บดูแลผลิตภัณฑ์ก่อนจำหน่ายให้กับลูกค้าและ สามารถดูวันเดือนปีที่หมดอายุได้

ผู้ประกอบการร้านขายของชำมีความรู้ในการเก็บดูแลผลิตภัณฑ์ก่อนจำหน่ายให้กับลูกค้า คิดเป็นร้อยละ 80

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้มาตรฐาน สะอาด ปลอดภัย ถูกหลัก สุขาภิบาลอาหารและสามารถอ่านวันเดือนปีที่หมดอายุได้

ประชาชนมีความรู้ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้มาตรฐาน สะอาด ปลอดภัย ถูกหลัก สุขาภิบาลอาหารและสามารถอ่านวันเดือนปีที่หมดอายุได้ คิดเป็นร้อยละ 90

0.00
3 เพื่อสร้างเครือข่ายในการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน

มีเครือข่ายในการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 80

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 18,796.00 0 0.00
1 พ.ย. 63 - 31 ธ.ค. 63 สำรวจร้านชำในเขตรับผิดชอบทุกร้าน 0 576.00 -
1 - 28 ก.พ. 64 กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมโครงการอบรมผู้ประกอบการร้านชำให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และจัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำด้านสุขภาพ 0 7,220.00 -
1 เม.ย. 64 - 31 ส.ค. 64 กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมตรวจร้านชำคุณภาพพร้อมมอบป้ายให้แก่ผู้ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 0 11,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำมีความรู้ในการเก็บดูแลผลิตภัณฑ์ก่อนจำหน่ายให้กับลูกค้าและ สามารถดูวันเดือนปีที่หมดอายุได้ ๒.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้มาตรฐาน สะอาด ปลอดภัย ถูกหลัก สุขาภิบาลอาหารและสามรถอ่านวันเดือนปีที่หมดอายุได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ต.ค. 2563 00:00 น.