กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เรื่องความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลืือดออกในชุมชน มีความรู้เฉลี่ยก่อนการอบรม ร้อยละ 89.72 และมีความรู้เฉลี่ยหลังการอบรม ร้อยละ 94.25
2.ร้อยละ 100 ของหมู่บ้านตำบลเขาย่า มีค่า HI

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือน และบุคลากรในหน่วยงานต่าง ๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
80.00 80.00

 

2 เพื่อรณรงค์กำจัด ควบคุมหรือมีพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน วัด สถานบริการสาธารณสุข และโรงเรียน ตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนในเขต รพ.สต.บ้านศาลามะปราง มีพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.ร้อยละของหมู่บ้านในเขต รพ.สต.บ้านศาลามะปราง มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้าน โดยมีค่า HI น้อยกว่า 10
10.00 10.00

 

3 เพื่อลดอัตราป่วยและตายของผู้ป่วยไข้เลือดออกให้น้อยลง และควบคุมอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร หรือลดลงจากค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 2. .อัตราป่วยตายโดยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 0.13 ของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 350 304
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 350 304
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือน และบุคลากรในหน่วยงานต่าง ๆ มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อรณรงค์กำจัด ควบคุมหรือมีพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน วัด สถานบริการสาธารณสุข และโรงเรียน ตามเกณฑ์ (3) เพื่อลดอัตราป่วยและตายของผู้ป่วยไข้เลือดออกให้น้อยลง และควบคุมอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมอบรมฟื้นฟูและการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกแก่กลุ่มเป้าหมาย (2) ประชุมติดตาม เฝ้าระวัง และการประเมินผลการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1 (3) ประชุมติดตาม เฝ้าระวัง และการประเมินผลการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2 (4) ประชุมติดตาม เฝ้าระวัง และการประเมินผลการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 3 (5) ประชุมติดตาม เฝ้าระวัง และการประเมินผลการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 4

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh