กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการพัฒนาศักยภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและแกนนำผู้สูงอายุเขตเทศบาลตำบลหารเทาอย่างยั่งยืน ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ศุนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลหารเทา

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและแกนนำผู้สูงอายุเขตเทศบาลตำบลหารเทาอย่างยั่งยืน

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3339-03-01 เลขที่ข้อตกลง 0011/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและแกนนำผู้สูงอายุเขตเทศบาลตำบลหารเทาอย่างยั่งยืน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและแกนนำผู้สูงอายุเขตเทศบาลตำบลหารเทาอย่างยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและแกนนำผู้สูงอายุเขตเทศบาลตำบลหารเทาอย่างยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3339-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 160,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรไทยที่มีอัตราการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของประชากรผู้สูงอายุ รัฐบาลมีนโยบายให้จัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ ส่งเสริมให้มีสถานที่ในชุมชนสำหรับจัดกิจกรรมและบริการต่างๆสำหรับผู้สูงอายุและชมรมผู้สูงอายุรวมทั้งส่งเสริมให้มีการพัฒนาอาชีพและการถ่ายทอดภูมิปัญญา เพื่อเสริมสร้างสุขภาพ กาย จิต สังคมให้แก่ผู้สูงอายุและเป็นศูนย์ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุซึ่งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลหารเทาได้จัดตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ปัจจุบันมีคณะกรรมการฯ จำนวน๒๕ คน สมาชิกจำนวน๑๐๘ คนรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ส่งผลให้ครอบครัวไทยเปลี่ยนแปลงไป ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกครอบครัวลดลง ขาดความรักความอบอุ่น ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยว ดำเนินชีวิตตามลำพัง ทำให้เกิดภาวะซึมเศร้า รู้สึกสิ้นหวัง จึงแยกตัวออกจากสังคม การส่งเสริมสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคมของผู้สูงอายุ เพื่อให้ลูกหลานและคนในชุมชนหันมาเอาใจใส่ผู้สูงวัย เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืนต่อไป จะเป็นได้ว่าปัจจุบันประชากรไทยเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุหรือ”ภาวะประชากรผู้สูงอายุ” อันจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ เจ็บป่วยเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น และกลายเป็นผู้ไร้ความสามารถในการประกอบอาชีพเลี้ยงตนเอง ซึ่งรัฐบาลก็จะต้องรับภาระค่าเลี้ยงดู ซึ่งเสียค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ไปจำนวนมาก และตัวของผู้สูงอายุก็เกิดความรู้สึกว่าตนเองไร้คุณค่า เป้นภาระของสังคม ไม่สามารถทำงานหรือเป็นบุคคลไม่มีประโยชน์ทำให้เกิดความเครียดเกิดปัญหาทางจิตใจ กลัวถูกทอดทิ้ง ไม่มีคนดูแล กลัวโรคภัยไข้เจ็บ ไม่มีเงินรักษาโรคและเป็นภาระแก่ลูกหลานในการนี้ผู้จัดทำได้เล็งเห็นความสำคัญและตระหนักในปัญหาดังกล่าวจึงได้หาแนวทางในการแก้ปัญหา เพื่อช่วยเหลือกลุ่มผู้สูงอายุที่อยู่ภาวะที่ไม่มีงานทำ มีปัญหาสุขภาพ ขาดผู้ดูแลเอาใจใส่ ให้มีสุขภาพร่างกาย และจิตใจที่ดี สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและแกนนำผู้สูงอายุเขตเทศบาลตำบลหารเทาอย่างยั่งยืน ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่ติดบ้านเข้าร่วมกิจกรรมมากยิ่งขึ้น
  2. เพื่อส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพ และสร้างขวัญกำลังใจในการดูแลสุขภาพของเพื่อนผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่แข็งแรงและดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า
  3. 3 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสาธารณสุขตามความจำเป็นมากยิ่งขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเพื่อนเยี่ยมเพื่อนจากใจผู้สูงวัยห่วงใยกัน
  2. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทางจิตด้วยวิถีพุทธของประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุ (สร้างสุขด้วยธรรมปัญญา)
  3. กิจกรรมการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการส่งเสริมสุขภาพ
  4. กิจกรรมเสวนาการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลัก ๒ ศาสน สู่ความยั่งยืน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้มีความรู้ความเข้าใจ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพอนามัยของผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธี ด้านโภชนาการ ร่างกายและจิตใจ สังคม ประเพณี วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
    1. ผู้สูงอายุมีขวัญ กำลังใจ และทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพของเพื่อนผู้สูงอายุเพื่อดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่าต่อไป ๓. ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตได้ดียิ่งขึ้น
      ๔. เกิดเครือข่ายผู้สูงอายุในชุมชน เพิ่มขยายมากยิ่งขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่ติดบ้านเข้าร่วมกิจกรรมมากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุลดการติดบ้านลดลง ร้อยละ ๑๕
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพ และสร้างขวัญกำลังใจในการดูแลสุขภาพของเพื่อนผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่แข็งแรงและดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรง มีสุขภาพจิตใจที่ดียิ่งขึ้น ลดภาวะ เครียดได้ ร้อยละ ๗๐
0.00

 

3 3 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสาธารณสุขตามความจำเป็นมากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุเข้าถึงการบริการสาธารณสุขมากยิ่งขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่ติดบ้านเข้าร่วมกิจกรรมมากยิ่งขึ้น (2) เพื่อส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพ และสร้างขวัญกำลังใจในการดูแลสุขภาพของเพื่อนผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่แข็งแรงและดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า (3) 3 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสาธารณสุขตามความจำเป็นมากยิ่งขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเพื่อนเยี่ยมเพื่อนจากใจผู้สูงวัยห่วงใยกัน (2) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทางจิตด้วยวิถีพุทธของประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุ  (สร้างสุขด้วยธรรมปัญญา) (3) กิจกรรมการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการส่งเสริมสุขภาพ (4) กิจกรรมเสวนาการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลัก ๒ ศาสน  สู่ความยั่งยืน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและแกนนำผู้สูงอายุเขตเทศบาลตำบลหารเทาอย่างยั่งยืน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3339-03-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศุนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลหารเทา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด