กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในเลือด
รหัสโครงการ 64-L3355-1-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำเลือด
วันที่อนุมัติ 10 พฤศจิกายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 29 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสรพงษ์ ชูเพชร
พี่เลี้ยงโครงการ นายมนพ ยกฉวี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 พ.ย. 2563 30 ก.ย. 2564 30,000.00
รวมงบประมาณ 30,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 492 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

ข้อมูลจาก รพ.สต.บ้านน้ำเลือด

47.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ผลตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด ปี 2562 จำนวน 891 คน พบปกติ 157 คน ปลอดภัย 344 คน มีความเสี่ยง 374 คน และไม่ปลอดภัย106 คนและผลตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด ปี 2563 จำนวน 431 คน พบว่าปกติ จำนวน 51 คน ปลอดภัย จำนวน211 คนมีความเสี่ยง จำนวน 122 คน และไม่ปลอดภัย จำนวน 47 คน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 กลุ่มประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับสารพิษตกค้างในเลือด การหลีกเลี่ยง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มประชาชนได้เข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

1000.00 492.00
2 กลุ่มเสี่ยงมีผลเลือดปกติ / ปลอดภัยเพิ่มขึ้น

หลังจากได้รับความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่งมีผลเลือดสู่ภาวะปกติ / ปลอดภัยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20

1000.00 100.00
3 เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

47.00 30.00
4 เพื่อลดปัญหา ประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์

ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ ลดลง

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 30,000.00 1 30,000.00
1 - 30 พ.ย. 63 กิจกรรมเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในเลือด 0 0.00 -
1 - 31 ม.ค. 64 อบรมให้ความรู้แก่่กลุ่มเป้าหมายเกษตรกร 0 30,000.00 30,000.00
1 พ.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 เจาะเลือดแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคนในกลุ่มเสี่ยงและแจ้งผลการตรวจ หลังจากได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 0 0.00 -

ขั้นเตรียมการ 1.จัดประชุม จนท./อสม.เพื่อจัดทำแผนปฏิบัตงาน 2.เตรียมข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเกษตรกรที่มีสารเคมีตกค้างอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย 3.ติดต่อวิทยากรและกำหนดวันที่จัดการอบรม ขั้นดำเนินการ 1.ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้ารับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสารเคมีตกค้างในเลือด 2.อสม.แจกหนังสือเชิญแก่กลุ่มเป้าหมาย 3.ทำหนังสือเชิญวิทยากร 4.จัดอบรมให้ความรู้และวิธีปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมถึงวิธีการกำจัดสารพิษตกค้างในเลือด 5.ติดตามเจาะเลือดซ้ำแก่กลุ่มเป้าหมายหังได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 6.สรุปผลโครงการ 7.ติดตามเจาะเลือดซ้ำกลุ่มที่ยังผิดปกติในปีถัดไป

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดสารเคมีตกค้างในเลือด กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2563 21:23 น.