กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง


“ โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โต๊ะเด็งและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางโนรีดา บือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โต๊ะเด็งและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2539-04-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โต๊ะเด็งและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โต๊ะเด็งและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โต๊ะเด็งและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2539-04-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 104,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชนสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 13(3) มาตรา 18(4)(8)(9)และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพิ่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงการสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ ดังนั้นการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ในรูปแบบกองทุนสุขภาพท้องถิ่นโดยมีคณะกรรมการที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคประชาชน บุคคลากรทางสาธารณสุขและบุคคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่วนหนึ่งจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและท้องถิ่นสมทบอีกส่วนหนึ่ง จึงเป็นวิธีการอีกรูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้นำท้องถิ่นและประชาชนได้ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมที่จะสร้างเสริมสุขภาพของคนให้มีความสมบุรณ์แข็งแรงในด้านกาย ใจ สังคมและปัญญา เพราะฉะนั้นเพื่อให้การดำเนินงานกองทุนฯมีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพตำบลโต๊ะเด็ง จึงได้จัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลโต๊ะเด็ง ใหัมีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ต่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดซื้อวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานกองทุนฯ
  2. เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายและจ่ายค่าตอบแทนการประชุมของคณะกรรมการ
  3. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุน และคณะอนุกรรมรวมถึงคณะทำงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าวัสดุสำนักงาน
  2. ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ
  3. ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่1
  4. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 1
  5. ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 2
  6. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 2
  7. ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 3
  8. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 3
  9. ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 4
  10. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 4
  11. ค่าจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์โน๊ตบุคส์พร้อมตลับหมึกเคริ่องปริ๊น
  12. ค่าจ้างทำไวนิล
  13. ครูพี่เลี้ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 29

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

คณะกรรมการสามารถพัฒนาบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลโต๊ะเด็ง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าจ้างทำไวนิล

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ 720 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการกองทุนฯ

 

0 0

2. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 1

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าตอบแทนอนุกรรมการ      จำนวน 5 คนๆละ 300 บาท  เป็นเงิน 1500 บาท
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 5 คนๆละ 30 บาท    เป็นเงิน  150 บาท                                 รวมเป็นเงิน 1,650 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะอนุกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุม

 

0 0

3. ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่1

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าตอบแทนคณะกรรมการ    จำนวน 16 คนๆละ 400 บาท  เป็นเงิน 6,400 บาท
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม  จำนวน 16 คนๆละ  30 บาท  เป็นเงิน  480  บาท                                               รวมเป็นเงิน 6,880  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการกองทุนฯ เข้าประชุม

 

0 0

4. ค่าจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์โน๊ตบุคส์พร้อมตลับหมึกเคริ่องปริ๊น

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์โน๊ตบุคส์สำหรับงานประมวลผล จำนวน 1 เครื่องๆละ 22,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครื่องคอมพิวเตอร์โน๊ตบุคส์สำหรับงานประมวลผล จำนวน 1 เครื่อง

 

0 0

5. ค่าวัสดุสำนักงาน

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่ากระดาษ A4 80 แกรม จำนวน 10 รีมๆละ 10 รีม  เป็นเงิน  1,459 บาท
  • ค่าซองขาว จำนวน 1 กล่องๆละ 350 บาท              เป็นเงิน    350 บาท                 รวมเป็นเงิน 1,800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วัสดุสำนักงาน

 

0 0

6. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 2

วันที่ 25 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าตอบแทนเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ จำนวน 7 คนๆละ 300 บาท เป็นจำนวนเงิน 2,100 บาท -ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม                จำนวน 7 คนๆละ  30 บาท เป็นจำนวนเงิน    210 บาท                                                               รวมเป็นเงิน  2,310 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะอนุกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 2 เข้าร่วมประชุม

 

0 0

7. ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 2

วันที่ 26 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าตอบแทนเบี้ยประชุมคณะกรรม/ที่ปรึกษา จำนวน  19 คนๆละ 400 บาท เป็นจำนวนเงิน 7,600 บาท -ค่าตอบแทนเบี้ยประชุมคณะทำงาน          จำนวน    2 คนๆละ 200 บาท เป็นจำนวนเงิน    400 บาท -ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม                    จำนวน  21 คนๆละ 30 บาท  เป็นจำนวนเงิน    630 บาท                                                         รวมเป็นเงิน 8,630  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานกองทุนฯครั้งที่ 2  เข้าร่วมประชุม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดซื้อวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : มีการจัดซื้อวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานกองทุนฯ
10.00

 

2 เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายและจ่ายค่าตอบแทนการประชุมของคณะกรรมการ
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลโต๊ะเด็ง มีการขับเคลื่อนและดำเนินงานในการประชุมของกองทุนร้อยละ 90%
20.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลโต๊ะเด็ง สามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90%
50.00

 

4 เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุน และคณะอนุกรรมรวมถึงคณะทำงาน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯ และคณะอนุกรรมรวมถึงคณะทำงานได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 29
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 29

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดซื้อวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานกองทุนฯ (2) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายและจ่ายค่าตอบแทนการประชุมของคณะกรรมการ (3) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุน และคณะอนุกรรมรวมถึงคณะทำงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าวัสดุสำนักงาน (2) ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ (3) ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่1 (4) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 1 (5) ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 2 (6) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 2 (7) ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 3 (8) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 3 (9) ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 4 (10) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 4 (11) ค่าจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์โน๊ตบุคส์พร้อมตลับหมึกเคริ่องปริ๊น (12)  (13) ค่าจ้างทำไวนิล (14) ครูพี่เลี้ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โต๊ะเด็งและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2539-04-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางโนรีดา บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด