กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
สำนักงานเลขานุการกองทุนฯ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5307-4-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5307-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 96,998.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคมโดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยได้มีการนำแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่แบบบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการติดตามผลการดำเนินงานกองทุนสุขภาพ ฯ
ดังนั้น เพื่อให้งานกองทุนมีการขับเคลื่อนตามกระบวนการจึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ประจำปีงบประมาณ 2560 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อขับเคลื่อนระบบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน
  2. 2.เพื่อให้พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องได้เข้าใจการบริหารกองทุนไปในทิศทางเดียวกัน
  3. 3. เพื่อให้เกิดการติดตามประเมินผลการดำเนินงานกองทุนฯ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 31

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.1 ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงงบประมาณกองทุนฯ 1.2 ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเองและชุมชน 1.3 คณะกรรมการฯสามารถเข้าใจในแนวทางบริหารกองทุนฯอย่างมีประสิทธิภาพ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการครั้งที่ 1 และประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 1 เพื่ออนุมัติแผนงานกองทุนฯ

    วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะอนุกรรมการฝ่ายพิจารณากลั่นกรองโครงการเข้าร่วมประชุมทั้งหมด 8 คน  ในการประชุม ครั้งที่1/2560 ในวันที่ 1 ธค 59

    คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 15 คน ในการประชุม ครั้งที่ 1/2560 ในวันที่ 2 ธค 59

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผูุ้เข้าร่วมประชุมทั้ง 2 ครั้ง จำนวน 625 บาท

     

    27 23

    2. ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/2560 และผู้ขอสนับสนุนงบประมาณ จำนวน 13 โครงการ

    วันที่ 5 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ จำนวน 7 คน ขาดประชุม 1 คน พิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 13 โครงการ มี ผู้เข้าร่วมนำเสนอโครงการ จำนวน 13 คน 

     

    30 20

    3. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯครั้งที่ 2/60(ลงวันที่ 12 มค.60) และคณะอนุกรรมการฝ่านกลั่นกรองโครงการ (ลงวันที่ 24 ม.ค.60)

    วันที่ 12 มกราคม 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. จัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 2/60 วันที่ 12 มกราคม 2560 กรรมการการเข้าร่วม 18 คน ขาดที่ปรึกษา 1 คน และผู้นำเสนอโครงการและคณะทำงาน จำนวน 12 คนพิจารณาอนุมัติโครงการ จำนวน 13 โครงการ
    2. จัดประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3/60 วันที่ 24 มกราคม  กรรมการเข้าร่วม 7 คน ขาด 1 คน  และผู้นำเสนอโครงการและคณะทำงาน จำนวน 11 คนพิจารณาอนุมัติโครงการ จำนวน 14 โครงการ

     

    65 48

    4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯครั้งที่ 3/2560

    วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการเข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน  ผู้ข้าร่วมประชุมนำเสนอโครงการ 8 คน เจ้าหน้าที่ 2 คน  พิจารณาอนุมัติโครงการทั้งหมด 14 โครงการ

     

    30 25

    5. ประธานกรรมการบริหารกองทุนฯ เดินทางไปราชการแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานกองทุนฯ

    วันที่ 31 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประธานกรรมการบริหารกองทุนฯ เดินทางไปราชการแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานกองทุนฯ ระหว่างวันที่ 31 ก.ค.60 - 1 ส.ค. 60  โรงแรมลีการ์เด็นท์ หาดใหญ่

     

    1 1

    6. จัดซื้อวัสดุสำนักงาน

    วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วัสดุสำนักงาน กระดาษ ปากกา ฯลฯ

     

    0 0

    7. จัดซื้อเครื่องพริ้นเตอร์ ขาวดำ

    วันที่ 17 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ เครื่องพริ้นเตอร์ ขาว-ดำ

     

    0 0

    8. เลขานุการกองทุนฯ เดินทางไปราชการแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานกองทุนฯ

    วันที่ 31 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เลขานุการกองทุนฯ เดินทางไปราชการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานกองทุน ในวันที่ 31 ก.ค. 60 ณ โรงแรมลีการ์เด็นท์ หาดใหญ่

     

    1 1

    9. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 4 คณะอนุกรรมการกลั่นกรองพิจารณาโครงการครั้งที่ 4 คณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ

    วันที่ 13 กันยายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 4 (คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการพิจารณาและกลั่นกรองโครงการ  คณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ) วันที่ 13 ก.ย. 60

     

    27 22

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรม จัดประชุมคณะกรรมการ - กองทุนฯ มีการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน จำนวน  4 ครั้ง - มีการใช้จ่ายงบประมาณในการสนับสนุนเพื่อดำเนินโครงการ ร้อยละ 85.35 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน - ประธานคณะกรรมการบริหารกองทุนฯและเลขานุการกองทุนฯ เข้าร่วมงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 สงขลา ปี 2560 - กองทุนประเมินตนเอง ได้ 70 คะแนน 3.2 สิ่งที่ได้เรียนรู้/สิ่งที่ประทับใจ หน่วยงาน กลุ่มองค์กร กลุ่มภาคประชาชนให้ความสนใจและความสำคัญในการขอสนับสนุนงบประมาณกองทุนฯมากขึ้น  และแต่ละกลุ่มเริ่มเข้าใจกรอบการดำเนินงานกองทุนภายใต้วัตถุประสงค์ 4 ข้อหลัก ได้แก่ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต คณะกรรมการเข้าใจบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของตัวเองมาขึ้น ตามภาระหน้าที่หลัก ดังนี้ (๑) เพื่อสนับสนุน  และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ    หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ โดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟู สมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อให้  กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น (๒) เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนหรือหน่วยงานอื่นในพื้นที่ได้ดำเนินงานตามแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคให้แก่สมาชิกหรือประชาชนในพื้นที่ และกรณีมีความจำเป็นต้องจัดซื้อวัสดุที่มีลักษณะเป็นครุภัณฑ์ให้สนับสนุนได้ในวงเงินไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาทต่อโครงการ วัสดุที่มีลักษณะเป็นครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาของกลุ่มหรือองค์กรประชาชนหรือหน่วยงานอื่นที่ได้รับการสนับสนุนนั้น ๆ (๓) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค  การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก    ของศูนย์เด็กเล็กหรือศูนย์ชื่ออื่นที่ดำเนินกิจกรรม เกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชน  หรือศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ หรือศูนย์ชื่ออื่นที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชนตามหลักเกณฑ์ที่สำนักงานกำหนดเป็นเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๕ ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น (๔) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพทั้งนี้ ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๕ ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น


    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อขับเคลื่อนระบบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน
    ตัวชี้วัด : - มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ อย่างน้อยปีละ4 ครั้ง - มีการใช้จ่ายงบประมาณในการสนับสนุนเพื่อดำเนินโครงการ อย่างน้อยร้อยละ80

     

    2 2.เพื่อให้พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องได้เข้าใจการบริหารกองทุนไปในทิศทางเดียวกัน
    ตัวชี้วัด : - ตัวแทน กรรมการ หรือ คณะทำงานได้เข้าร่วมการประชุม สัมมนา หรือพัฒนาศักยภาพ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี

     

    3 3. เพื่อให้เกิดการติดตามประเมินผลการดำเนินงานกองทุนฯ
    ตัวชี้วัด : - กองทุนฯมีคะแนนการประเมินผลตนเองไม่น้อยกว่า 70 คะแนน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 31
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 31

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อขับเคลื่อนระบบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน (2) 2.เพื่อให้พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องได้เข้าใจการบริหารกองทุนไปในทิศทางเดียวกัน (3) 3. เพื่อให้เกิดการติดตามประเมินผลการดำเนินงานกองทุนฯ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5307-4-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( สำนักงานเลขานุการกองทุนฯ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด