กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า


“ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุ ลดการเกิดโรคจากอุบัติเหตุ ”

ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประทีป ไชยยอด

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุ ลดการเกิดโรคจากอุบัติเหตุ

ที่อยู่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5182-01-10 เลขที่ข้อตกลง 8/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มีนาคม 2564 ถึง 30 เมษายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุ ลดการเกิดโรคจากอุบัติเหตุ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุ ลดการเกิดโรคจากอุบัติเหตุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุ ลดการเกิดโรคจากอุบัติเหตุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5182-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 มีนาคม 2564 - 30 เมษายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,592.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาอุบัติเหตุที่เกิดจากการจราจรทางถนนเป็นปัญหาเชิงโครงสร้างและปัญหาเชิงระบบที่เกิดขึ้นบ่อยๆ ซ้ำๆ อ้างอิงจากศูนย์ข้อมูลอุบัติเหตุ เพื่อเสริมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนน (Thai RSC)(ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2563) พบว่าประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน จำนวน 11,871 ราย บาดเจ็บ 775,722 ราย รวมทั้งสิ้น 787,593 ราย โดยในปี พ.ศ.2563 พื้นที่ตำบลนาหว้าเกิดอุบัติเหตุทางถนน จำนวน 20 เหตุการณ์ โดยเกิดจากความประมาทการไม่สวมหมวกนิรภัย และมีพฤติกรรมขับรถเร็ว เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เห็นความสำคัญในการเน้นการดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบาย แผนงาน และยุทธศาสตร์ระดับชาติด้านการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนโดยดำเนินการในเรื่องของปัจจัยเสี่ยง 3 ประเด็น ได้แก่ การสวมหมวกนิรภัย การเมาแล้วขับ การขับรถเร็วและการใช้เข็มขัดนิรภัยโดยการให้ความรู้และรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในช่วงเทศกาลสำคัญต่างๆ ได้แก่ เทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมสวมหมวกนิรภัย มีความรู้ทักษะในการขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนนที่ถูกต้อง และลดอุบัติเหตุทางถนน ลดการเกิดโรคที่เกิดจากการประสบอุบัติเหตุทางถนน และลดความสูญเสียทางร่างกายและทรัพย์สินต่อไปองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ใกล้ชิดประชาชน มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562 มาตรา 66 การพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม มาตรา 68(5) การจัดให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการการสหกรณ์ และมาตรา 67(3) การป้องกันและระงับโรคติดต่อ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุ ลดการเกิดโรคจากอุบัติเหตุ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ร้อยละประชาชนมีพฤติกรรมสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่รถจักรยานยนต์
  2. ร้อยละของประชาชนมีความรู้ ทักษะในการขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนน
  3. ร้อยละของการเกิดอุบัติเหตุทางถนนของประชาชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดทำข้อตกลง มาตรการชุมชนและหน่วยงานเพื่อการลดอุบัติเหตุ
  2. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดอุบัติเหตุทางถนน
  3. อบรมให้ความรู้ และทักษะในการขับขี่รถปลอดภัย
  4. การรณรงค์ให้ความรู้การขับขี่รถปลอดภัย
  5. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัย
  2. ประชาชนมีความรู้ ทักษะในการขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนนที่ถูกต้อง
  3. ลดความสูญเสียทางร่างกายและทรัพย์สิน
  4. ลดจำนวนผู้ป่วยจากโรคที่เกิดจากอุบัติเหตุทางถนน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การจัดทำข้อตกลง มาตรการชุมชนและหน่วยงานเพื่อการลดอุบัติเหตุ

วันที่ 9 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

การจัดทำข้อตกลง มาตรการชุมชนและหน่วยงานเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุ จัดทำกติกาชุมชนว่าด้วยการขับขี่ปลอดภัยหรือลดอุบัติเหตุทางถนนของหมู่บ้านหรือหน่วยงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output)
- เพื่อให้มีข้อตกลง กติกา หรือมาตรการของชุมชนร่วมกัน


ผลลัพธ์ (Outcome) - มีข้อตกลง กติกา หรือมาตรการของชุมชนที่ใช้ร่วมกัน

 

0 0

2. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดอุบัติเหตุทางถนน

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. เกิดคณะทำงานชุมชนเพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาจุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
  2. ร่วมกันลงแรงเพื่อปรับปรุงจุดเสี่ยง เช่น ตัดต้นไม้หรือถากถางจุดอันก่อให้เกิดอุบัติเหตุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) - เพื่อปรับปรุงจุดเสี่ยง เช่น ตัดต้นไม้หรือถากถางจุดอันก่อให้เกิดอุบัติเหตุ

ผลลัพธ์ (Outcome)
- ชุมชนร่วมกันลงแรงเพื่อปรับปรุงจุดเสี่ยง

 

0 0

3. อบรมให้ความรู้ และทักษะในการขับขี่รถปลอดภัย

วันที่ 16 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยอย่างถูกวิธี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output)
1. เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่รถจักรยานยนต์ 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ทักษะในการขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนน

ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ประชาชนมีพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัย 2. ลดความสูญเสียทางร่างกายและทรัพย์สิน

 

50 0

4. การรณรงค์ให้ความรู้การขับขี่รถปลอดภัย

วันที่ 17 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เดินรณรงค์ในพื้นที่หมู่ที่ 1 - 12 ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) - เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีพฤติกรรมสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่รถจักรยานยนต์

ผลลัพธ์ (Outcome) - ประชาชนมีพฤติกรรมสวมหมวกนิรภัยมากขึ้น

 

0 0

5. สรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 19 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องจัดทำสรุปรายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) - เพื่อสรุปผลและรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องจัดทำสรุปรายงานผลการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ (Outcome) - บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ร้อยละประชาชนมีพฤติกรรมสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่รถจักรยานยนต์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนมีพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยเพิ่มขึ้น
60.00 80.00

 

2 ร้อยละของประชาชนมีความรู้ ทักษะในการขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนให้มีความรู้และทักษะในการขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนนเพิ่มขึ้น
70.00 90.00

 

3 ร้อยละของการเกิดอุบัติเหตุทางถนนของประชาชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละการเกิดอุบัติเหตุทางถนนของประชาชนลดลง
70.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้อยละประชาชนมีพฤติกรรมสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่รถจักรยานยนต์ (2) ร้อยละของประชาชนมีความรู้ ทักษะในการขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนน (3) ร้อยละของการเกิดอุบัติเหตุทางถนนของประชาชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดทำข้อตกลง มาตรการชุมชนและหน่วยงานเพื่อการลดอุบัติเหตุ (2) การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดอุบัติเหตุทางถนน (3) อบรมให้ความรู้ และทักษะในการขับขี่รถปลอดภัย (4) การรณรงค์ให้ความรู้การขับขี่รถปลอดภัย (5) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุ ลดการเกิดโรคจากอุบัติเหตุ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5182-01-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประทีป ไชยยอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด