กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรใส่ใจ ผู้บริโภคปลอดภัย ห่างไกลโรค
รหัสโครงการ 64-L8404-1-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.ท่าจีน
วันที่อนุมัติ 14 ตุลาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 19,350.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสำราญ สกุลเด็น
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.103980973,100.5269584place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้เกษตรกรและประชาชนทั่วไป มีความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้ถูกต้อง
  1. เกษตรกรและประชาชนทั่วไป ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่มขึ้นร้อยละ  100
1.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  1. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดร้อยละ  90
  2. เกษตรกรที่ผลการตรวจอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการติดตาม ร้อยละ 100
1.00
3 ข้อที่ 3 เพื่อศึกษาผลการตรวจระดับสารเคมีตกค้างในเลือดในกลุ่มประชาชนทั่วไป
  1. ประชาชนทั่วไป ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดร้อยละ  90
  2. ประชาชนทั่วไป ที่ผลการตรวจอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการติดตาม ร้อยละ 100
1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00
  1. จัดทำโครงการเสนอ ขออนุมัติการใช้งบประมาณจากกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย
  2. ประสานงานกับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
    • คณะอาสาสมัครสาธารณสุข
    • เกษตรกรและประชาชนทั่วไป
    • วิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่
  3. จัดทำทะเบียนเกษตรกรประจำหมู่บ้าน
  4. ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเกษตรกรทราบกำหนดวันเวลาและสถานที่ในการจัดกิจกรรม
  5. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้กับเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและประชาชนทั่วไป เรื่อง อันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช การป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การล้างผักผลไม้ในการบริโภค การรับประทานรางจืดเพื่อลดระดับสารเคมีตกค้างในเลือด เป็นต้น
  6. จัดกิจกรรมตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดโดยใช้ชุดทดสอบโคลีนเอสเตอเรสในกลุ่มแก่เกษตรกรและประชาชนทั่วไป
  7. สรุปผลการดำเนินโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกษตรกรและประชาชนทั่วไป ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้ถูกต้อง
  2. เกษตรกรและประชาชนทั่วไป ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด
  3. เกษตรกรและประชาชนทั่วไป ที่ผลการตรวจอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการติดตาม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ต.ค. 2563 14:33 น.