กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ท่าสาป30 สิงหาคม 2564
30
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย สุชาดา สุวรรณคีรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จากการติดตามเทศบาลตำบลท่าสาป พบว่า ยังไม่ได้สรุปผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการ เนื่องจากสถานการการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การบริหารจัดการโครงการยังไม่แล้วเสร็จ ไม่สามารถสรุปโครงเด่นได้ อาจต้องขยายเวลาในการดำเนินการไปปี 2565 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสในพื้นที่

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโล๊ะหะลอ30 สิงหาคม 2564
30
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รูสลาม สาร๊ะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงประเมินคุณค่าโครงการ ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุน โดยเลือก2โครงการประักอบด้วย 1.โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันดรคโควิด19 โดยชมรมอสม.ตำบลตะโละหะลอ 2.โครงการให้ความรู้โรคโควิด19 โดยอบต.ตะโละหะลอ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการประเมิน 2 โครงการ 2.เจ้าหน้าที่กองทุนมีทักษะในการประเมินและใช้ระบบ

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อบต.กาลูปัง30 สิงหาคม 2564
30
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย farkhung
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เยี่ยมติดตามกองทุน โดยเข้าพบกับผู้บริหารท้องถิ่น ซึ่งทำหน้าที่ประธานกองทุนฯและเจ้าหน้าที่กองทุนเพื่อติดตามกองทุน (Audit) โดยการดูเอกสารที่เกี่ยวข้องและดูผ่านเว็ปไซต์ระบบกองทุนฯ ประกอบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แนะนำการลงข้อมูลโครงการในระบบ หลักการเขียนโครงการบริหารฯ(4) กระบวนการสรุปโครงการ

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ยะหา30 สิงหาคม 2564
30
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Nardin
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงเข้าพบเจ้าหน้าที่กองทุนพูดคุยสถานการณ์การดำเนินงานกองทุน และพูดุยชี้แจงการดำเนินการประเมินคุณค่าของโครงการ ตามแบบฟอร์มในระบบเพื่อทำความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการประเมินคุณค่าของโครงการซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการทบทวนรีเช็คข้อมูลความสำคัญ กระบวนการดำเนินงาน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในมิติต่างๆ ความคุ้มค่าของการดำเนินงาน การปรับปรุงพัฒนาต่อยอดการดำเนินงาน โดยอ่านคำถาม อธิบายทำความเข้าใจและยกตัวอย่างในบางคำถามตามมิติต่างๆ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.สถานการณ์กองทุนฯ มีเงินคงเหลือ ๒๓๔,๘๓๗.๒๔ ซึ่งการเบิกจ่ายยังไม่ถึง ร้อยละ ๗๐ กองทุนมีแผนการดำเนินงานตามโครงการ ๑๐(๕) -เพื่อนำมาใช้แก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกตามตัวอย่างโครงการที่ทาง สปสช.เขตแนะนำ ซึ่งส่วนใหญ่โครงการที่ได้รับอนุมัติตามแผนงานปี ๒๕๖๔ จะเป็นในส่วนของแหล่งรับทุน กลุ่ม ๑๐(๑) และ ๑๐(๓) ซึ่งคาดว่าจะไม่ดำเนินการในปีงบประมาณนี้ ๒.การประเมินคุณค่ากองทุนเลือกโครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙  ประจำปี ๒๕๖๔ ๑๐(๕)  ทั้งนี้ระหว่างการประเมินคุณค่าได้ตั้งข้อคำถามจากระบบและอธิบายทำความเข้าใจในแต่ละมิติของคำถาม ๓.การประเมินคุณค่าทำให้ผู้ดำเนินงานได้ทบทวนข้อมูลการดำเนินงาน เห็นภาพจุดอ่อนจุดแข็งวิธีการ กระบวนงานในภาพรวมได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ๔.ได้แนะนำให้เจ้าหน้าทีกองทุนในการประเมินคุณค่าโครงการอื่นๆที่เหลือก่อนสรุปโครงการเพื่อประโยชน์ในการดำเนินงานในโอกาสต่อๆไป

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน (Audit) อบต.บันนังสาเรง30 สิงหาคม 2564
30
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Nardin
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงจังหวัดเข้าประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน Audit อบต.บันนังสาเรง โดยขอเข้าพบเพื่อขอดูเอกสารประกอบกับระบบเว็ปไซต์กองทุนตามแบบประเมินการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ประจำปีงบประมาณ 2564

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจสอบข้อมูลเอกสารประกอบระบบ ในปี 2564 กองทุนมีแผนการจัดทำโครงการจำนวน 10 โครงการที่ได้มีการประชุมของคณะกรรมการ แต่ไม่ได้ลงระบบเนื่องจากในปี 2564 คาดว่าไม่สามารถดำเนินการตามแผนโครงการที่กลุ่ม/องค์กร เสนอ ด้านการบันทึกการเงินในระบบและในบัญชีธนาคารไม่ถูกต้อง มีการบันทึกรายเงินสมทบจาก อปท.ซ้ำเป็น 2 ครั้ง บันทึกดอกเบี้ยรับซ้ำ 2 ครั้ง ซึ่งได้แนะนำให้ลบออก และไม่ได้บันทึกเงินรับ(400.-บาท) 1 รายการ ที่ปรากฏในสมุดเงินฝากธนาคาร และในปีนี้กองทุนมีการใช้จ่ายเงินงบประมาณน้อยสืบเนื่องจากเหตุโควิดซึ่งได้แนะนำกรณีที่มีการประชุมและพิจารณาอนุมัติแล้ว สามารถที่จะโอนเงินให้กับกลุ่มฯก่อน และหากไม่สามารถดำเนินการในช่วงของสถานการณ์ให้ทำหนังสือขอขยายเวลาเพื่อดำเนินการในปี 2565 การดำเนินโครงการในปี 2563 ได้ให้คำแนะนำในส่วนของการพิจารณาโครงการที่กลุ่มเสนอให้มีความหลากหลายของชุดกิจกรรมและส่งกระทบกลุ่มเป้าหมายรองเพื่อให้เกิดความคุ้มค่าต่อการใช้งบประมาณ

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อบต.หน้าถ้ำ29 สิงหาคม 2564
29
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย สุชาดา สุวรรณคีรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้ลงติดตามการดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลหน้าถ้ำ ดำเนินการติดตามและประเมินการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตามรูปแบบและแนวทางที่กำหนด พบว่า การดำเนินงานเป็นไปตามที่กำหนด โดยทำการตรวจสอบเอกสารประกอบที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คำสั่งแตงตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนและคำสั่งต่างๆที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบการลงข้อมูลในระบบเป็นปัจจุบัน มีการบันทึกรายได้รายจ่ายที่เกี่ยวข้องถูกต้องเป็นปัจจุบัน การบันทึกแผนบริหารถูกต้องสมบูรณ์ มีโครงการบริหารจัดการกองทุนถูกต้อง มีโครงการด้านสุขภาพ 9 โครงการ เป็นเงิน 111800 บาท ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่มีน้อย เนื่องจากสภาพแวดล้อมการอยู่อาศัยเป็นบ้านเดี่ยวอยู่ห่างกัน เมือ่มีการติดเชื้อสามารถดำเนินการได้ดี มีการติดตามและเยี่ยมบ้านผู้ติดเชื้อโดยมีการมอบเครื่องอุปโภคและบริโภค จากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ทำให้บางกิจกรรม/โครงการ ไม่สามารถดำเนินการได้ แต่ได้แนะนำให้ขอขยายเวลาดำเนินการในปี 2565 ตามแนวทางที่กำหนด ซึ่งขณะนี้กำลังดำเนินการเรียบร้อยแล้ว

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปได้ว่าการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลหน้าถ้า มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ข้อมูลจัดเก็บเรียบร้อย ตรวจสอบแล้วเป็นปัจจุบันทั้งในระบบและแฟ้มเอกสารที่เกี่ยวข้อง พร้อมรับการตรวจสอบได้

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) เทศบาลตำบลบาลอ27 สิงหาคม 2564
27
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รูสลาม สาร๊ะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินติดตามกองทุนเทศบาลตำบลบาลอได้พูดคุย ติดตามหนุนเสริม ผู้รับผิดชอบกองทุนคนใหม่ น้องจ้างเหมา จนท.รพ.สต.บาลอ โดยในปีนี้มีการประชุม 1ครั้งมีการอนุมัติโครงการ 6 โครงการแต่ยังไม่โอนเงินและดำเนินการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผุ็รับผิดชอบกองทุนคนใหม่เข้าใจระบบและระเบียบมากขึ้น 2.ผู้รับผิดชอบกองทุนและน้องจ้างเหมารู้ข้อจำกัดของตนเองและกองทุนเพื่อนำไปแก้ไข 3.เกิดการพูดคุยระหว่างเทศบาลบาลอและรพ.สต.บาลอเพื่อนำไปสู่การขับเคลื่อนโครงการในห้วงเวลาที่เหลือ

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ27 สิงหาคม 2564
27
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รูสลาม สาร๊ะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงติดตามและประเมินคุณค่าโครงการพบเจ้าหน้าที่กองทุน ผุ้รับผิดชอบโครงการ เข้าพบปลัด หัวหน้ากองช่างเพื่อรายงานการดำเนินงาน ปี64 ยังไม่มีการส่งสรุปโครงการ จึงประเมินคุณค่าปี63

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.จนท.กองทุนและผุ้รับผิดชอบโครงการมีทักาะในการใช้ระบบและประเมินคุณค่าโครงการ 2.ปลัดทราบความคืบหน้าของกองทุน

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน (Audit) ตำบลยะลา27 สิงหาคม 2564
27
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Nardin
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เยี่ยมติดตามกองทุน โดยเข้าพบกับผู้บริหารท้องถิ่น ซึ่งทำหน้าที่ประธานกองทุนฯและเจ้าหน้าที่กองทุนเพื่อติดตามกองทุน (Audit) โดยการดูเอกสารที่เกี่ยวข้องและดูผ่านเว็ปไซต์ระบบกองทุนฯ ประกอบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน (Audit) อบต.ยะลา ภาพรวมการดำเนินการของกองทุนอยู่ในระดับดี มีการจัดทำเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องสมบูรณ์ ขาดเพียงการจัดทำแผนบริหาร แผนสุขภาพในระบบฯ โดยได้ให้คำแนะนำในเรื่องของการจัดทำแผนในระบบ การกำหนดเป้าหมาย ในส่วนของโครงการต่างๆมีการจัดทำเป็นเอกสารและบันทึกเข้าระบบฯ โดยได้แนะนำในเรื่องของการจัดทำวัตถุประสงค์เชิงปริมาณเพื่อให้สามารถตอบโจทย์แผนงานและวัตถุประสงค์เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรม ในส่วนของโครงการกิจกรรม 10(5) มีการดำเนินการเฉพาะในปี 2564 ซึ่งอยู่ระหว่างการรายงาน 1 โครงการและระหว่างการดำเนินการ 1 โครงการ ในส่วนของกองทุน LTC มีการดำเนินการผ่านศูนย์บริการผู้สูงอายุเพียง 1 หน่วยโดยในศูนย์มีบุคลากรจาก รพ.สต.ร่วมดำเนินการ

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.บุดี26 สิงหาคม 2564
26
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย สุชาดา สุวรรณคีรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จากการติดตามการดำเนินการบริหารโครงการในปี 2564 เทศบาลตำบลบุดี ได้ดำเนินการพิจารณาโครงการและดำเนินการโอนเงิน แต่ขณะนี้่ยังไม่ได้สรุปผลการดำเนินโครงการ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ทำให้การดำเนินการส่วนใหญ่เป็นไปในเรื่องการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนในเรื่อง Covid-19 มีการจัดตั้งศูนย์พักคอย มีการจัดซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคแจ่กจ่ายให้กับประชาชนที่มีผลกระทบจากโรตติดเชื้อไวรัสโคโรน่า

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ในพื้นที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ทำให้การดำเนินการพิจารณางบประมาณในการบริหารจัดการของกองทุนเกิดความล่าช้า ขณะนี้ได้พิจารณาอนุมัติไปแล้ว แต่ยังไม่ได้ดำเนินการแต่อย่างให ยกเว้นการดำเนินการเรื่องการแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า คาดว่าในปีนี้การจัดกิจกรรมตามโครงการจะต้องขยายเวลาในการดำเนินการในปี 2565 ต่อไป

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ลำใหม่25 สิงหาคม 2564
25
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย สุชาดา สุวรรณคีรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จากการติดตามการดำเนินโครงการของกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลลำใหม่ พบว่า การเสนอโครวงการโภชนาการสมวัย เด็กปฐมวัยสมส่วน เด็กลำใหม่ยิ้มใส ประจำปี 2564 มีระยะเวลาดำเนินการ ระหว่างวันที่ 22 มกราคม ถึงวันที่ 10 มีนาคม 2564 เป็นโครงการริเริ่มใหม่ โดยกองการศึกษา ใช้งบประมาณในการดำเนินการ 30,000 บาท โด่ยมีกลุ่้มเป้าหมายคือ ครู เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ และผู้ปกครอง รวมทั้งสิ้น 67 คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดปัญหาและอุปสรรค ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ปกครองบางท่านไม่ค่อยให้ความร่วมมือ และขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลบุตรหลาน 2. ระยะเวลาในการดูแล ประมวลผลแต่ละเดือน การแปรผลจะแตกต่างกัน อยู่ที่จำนวนวันที่เด็กมา     เรียน ซึ่งเด็กบางคนจะมีปัญหาทางสุขภาพ 3.มีเด็กนักเรียนที่เข้าเรียนกลางคันไม่ได้รับการดูแลตั้งแต่ต้นทำให้มีเด็กนักเรียนที่มีปัญหาทุพ
  โภชนาการที่เพิ่มขึ้น 4.มีเด็กนักเรียนที่ขาดเรียนบ่อยทำให้เกิดภาวะทุพโภชนาการที่ต่ำลง จากเดิมอยู่ในเกณฑ์สมส่วน จึง   ต้องขอความร่วมมือจากผู้ปกครองให้นำส่งเด็กนักเรียนมาเรียนอย่างสม่ำเสมอ

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อบต.ธารโต25 สิงหาคม 2564
25
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย พี่ดะห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มด้วยทางพี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการแนะนำตัวและกล่าววัตถุประสงค์ของการลงติดตามในครั้งนี้ พร้อมกับการแนวทางการดำเนินการในปีหน้าทีถึงการใช้ระบบเป็นหลักจากนั้นให้ทางเจ้าหน้าที่ผู้รับชอบกองทุนได้มีการเล่าถึงสถานกการณ์และการดำเนินกองทุนทีผ่าน ทางพี่เลี้ยงจังหวัดเริ่มการประเมินตามตัวตามแบบฟอร์มของการนิเทศน์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงประเมินเยี่ยมกองทุนสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลธารโต การดำเนินงานเป็นไปตามระบบตามขั้นตอนที่กำหนด แต่ยังมีบางส่วนในการลงข้อมูลในระบบยังไม่สมบูรณ์ได้แนะนำไปแล้ว ส่วนการดำเนินโครงการ มีเฉพาะประเภท ที่ 1  ที่เข้ามาของบประมาณ ได้ดำเนินการโอนงบประมาณ แต่ยังไม่ได้ดำเนินโครงการ  โครงการที่เสนอ มีทั้งหมด  25 โครงการ เป็นเงินจำนวน 389,665 บาท ส่วนงาน LTC ยังไม่สมัคร แนะนำให้ดำเนินการเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร25 สิงหาคม 2564
25
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย พี่ดะห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มจากพี่เลี้ยงได้มีการประชุมผ่านระบบออนไลน์ พร้อมเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนตำบล และทำความเข้าใจในการประเมินคุณค่าของโครงการที่ผู้รับทุนการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล ทั้งนี้เพื่อการประเมินคุณค่าของการดำเนินโครงการที่ผ่านมา พร้อมสอบถามถึงการดำเนินการที่ผ่านมาของกองทุนโดยภาคร่วม และได้มีการแนะนำทำความเข้าใจ ข้อเสนอแนะต่างๆ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เรื่องการพูดคุยทำความเข้าใจในการพบปะการพูดครั้งนี้ได้ชี้แจ้งให้เจ้าทีรับผิดชอบกองทุนได้รับว่าการประเมินคุณค่าของโครงการเพื่อการได้ทบทวนกระบวนการ และผล ในการดำเนินกิจกรรมโครงการที่ผ่านมาได้ผลลัพท์เป็นอย่างไร
2. เจ้าหน้าทีกองทุนได้มีการคัดเลือกโครงการของปีงบประมาณ 2564 เนื่องจากไม่มีโครงการของปีงบประมาณ 2563  อบต.บ้านแหรได้เลือกโครงการหนึ่งมาประเมินคุณค่า ชื่อโครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคระบาดในพื้นที่ (โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า COVID- 19 ) ซึ่งทางเจ้าหน้าทีได้มีการประเมินคุณค่าโครงการที่ผ่านดำเนินการมาแล้ว ซึ่งพี่เลี้ยงได้ตั้งข้อคำถามตามโจทย์ ที่มีในระบบ และพยายามอธิบายในแต่ละหัวข้อเพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน ในการประเมิน
3. พี่เลี้ยงได้มีการพูดถึง สถานะของกองทุน ณ ปัจจุปัน  มีโครงการทั้งหมด 28 โครงการ มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จ 1 โครงการ  แต่การเบิกจากงบประมาณ992,455  บาท ซึ่งทางพี่เลี้ยงได้เสนอแนะให้มีการพูดคุยกันใน ส่วนของผู้รับผิดชอบพยายามให้มีการใช้งบประมาณตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้เพื่อการจัดสรรงบประมาณในปีหน้าได้

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อบต.กอตอตือร๊ะ25 สิงหาคม 2564
25
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย farkhung
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงได้พบเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนตำบล และทำความเข้าใจในการประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(อบต.)กอตอตือร๊ะในการดำเนินงานที่ผ่านมา และโครงการที่ผู้รับทุนการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล พร้อมสอบถามถึงการดำเนินการที่ผ่านมา แนะนำกระบวนการ แนวทางทาง ความสำเร็จของผลงานที่เราของบประมาณการทำโครงการว่าเกิดคุณค่ามากน้อยเพียงใด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงประเมินเยี่ยมกองทุนสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกอตอตือร๊ะ การดำเนินงานเป็นไปตามระบบตามขั้นตอนที่กำหนด แต่ยังมีบางส่วนในการลงข้อมูลในระบบยังไม่สมบูรณ์ได้แนะนำไปแล้ว
ส่วน LTC พึ่งสมัครปีนี้แต่การดำเนินกิจกกรรมได้ดำเนินการไปครึ่งแล้ว แต่มาติดโควิด

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อบต.เกะรอ25 สิงหาคม 2564
25
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ฟ้าประทาน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เริ่มด้วยทางพี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการแนะนำตัวและกล่าววัตถุประสงค์ของการลงติดตามในครั้งนี้ พร้อมกับการแนวทางการดำเนินการในปีหน้าทีถึงการใช้ระบบเป็นหลักจากนั้นให้ทางเจ้าหน้าที่ผู้รับชอบกองทุนได้มีการเล่าถึงสถานกการณ์และการดำเนินกองทุนทีผ่าน ทางพี่เลี้ยงจังหวัดเริ่มการประเมินตามตัวตามแบบฟอร์มของการนิเทศน์
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงประเมินเยี่ยมกองทุนสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกะรอ การดำเนินงานเป็นไปตามระบบตามขั้นตอนที่กำหนด แต่ยังมีบางส่วนในการลงข้อมูลในระบบยังไม่สมบูรณ์ได้แนะนำไปแล้ว ส่วนการดำเนินโครงการ(3) ยังไม่มีโครงการเนื่องจาก อบต.ยังไม่ดำเนินการผลักส่งเงินรายได้ให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดำเนินการยังเป็นเอกเทศทำให้โครงการ(3)ยังไม่เกิดโครงการ แต่มีกิจกรรมเกี่ยวกับสุขภาพในการดำเนินการในศูนย์เด็กเล็กยังคงอยู่ โดยอนามัยเป็นคนดำเนินกิจกรรมแก้ปัญหาสุขภาพเด็ก ส่วนงาน LTC ยังไม่สมัคร แนะนำให้ดำเนินการเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อบต.คีรีเขต24 สิงหาคม 2564
24
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย พี่ดะห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มด้วยทางพี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการแนะนำตัวและกล่าววัตถุประสงค์ของการลงติดตามในครั้งนี้ พร้อมกับการแนวทางการดำเนินการในปีหน้าทีถึงการใช้ระบบเป็นหลักจากนั้นให้ทางเจ้าหน้าที่ผู้รับชอบกองทุนได้มีการเล่าถึงสถานการณ์และการดำเนินกองทุนทีผ่าน ทางพี่เลี้ยงจังหวัดเริ่มการประเมินตามตัวตามแบบฟอร์มของการนิเทศน์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงประเมินเยี่ยมกองทุนสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคีรีเขต การดำเนินงานเป็นไปตามระบบตามขั้นตอนที่กำหนด แต่ยังมีบางส่วนในการลงข้อมูลในระบบยังไม่สมบูรณ์ได้แนะนำไปแล้ว ส่วนการดำเนินโครงการ ได้ดำเนินการโอนงบประมาณ แต่ได้ดำเนินโครงการ  โครงการที่เสนอ มีทั้งหมด  7 โครงการ เป็นเงินจำนวน 140,000 บาท แต่โครงการมีเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขโรคโควิค อย่างเดียวและเป้นโครงการที่ซ้ำๆ แตกต่างที่เป้าหมาย
ส่วนการดำเนินงานของ LTC ทางกองทุน ได้มีการดำเนินการรับผิดชอบหลัก ในการประสานงานและดำเนินงาน และทีมกองเลขาจะเป็นคนดำเนินตั้งเบิกจ่าย

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) เทศบาลตำบลคอกช้าง24 สิงหาคม 2564
24
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย พี่ดะห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มด้วยทางพี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการแนะนำตัวและกล่าววัตถุประสงค์ของการลงติดตามในครั้งนี้ พร้อมกับการแนวทางการดำเนินการในปีหน้าทีถึงการใช้ระบบเป็นหลักจากนั้นให้ทางเจ้าหน้าที่ผู้รับชอบกองทุนได้มีการเล่าถึงสถานการณ์และการดำเนินกองทุนทีผ่าน ทางพี่เลี้ยงจังหวัดเริ่มการประเมินตามตัวตามแบบฟอร์มของการนิเทศน์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การดำเนินงานเป็นไปตามระบบตามขั้นตอนที่กำหนด แต่ยังมีบางส่วนในการลงข้อมูลในระบบยังไม่สมบูรณ์ได้แนะนำไปแล้ว ส่วนการดำเนินโครงการ ได้ดำเนินการโอนงบประมาณ แต่ได้ดำเนินโครงการ  โครงการที่เสนอ บางโครงการเนื่องจากสถานการณ์โควิค มีทั้งหมด  7 โครงการ เป็นเงินจำนวน 189,721 บาท บาง ส่วนการดำเนินงานของ LTC ทางกองทุน ได้มีการดำเนินการรับผิดชอบหลัก ในการประสานงานและดำเนินงาน และทีมกองเลขาจะเป็นคนดำเนินตั้งเบิกจ่าย มีการเสนอแนะให้มีการขยายโครงการ

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง24 สิงหาคม 2564
24
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อิสมาแอล สิเดะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มจากพี่เลี้ยงได้มีการประชุมผ่านระบบออนไลน์ พร้อมเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนตำบล และทำความเข้าใจในการประเมินคุณค่าของโครงการที่ผู้รับทุนการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล ทั้งนี้เพื่อการประเมินคุณค่าของการดำเนินโครงการที่ผ่านมา พร้อมสอบถามถึงการดำเนินการที่ผ่านมาของกองทุนโดยภาคร่วม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เรื่องการพูดคุยทำความเข้าใจในการพบปะการพูดครั้งนี้ได้ชี้แจ้งให้เจ้าทีรับผิดชอบกองทุนได้รับว่าการประเมินคุณค่าของโครงการเพื่อการได้ทบทวนกระบวนการ และผล ในการดำเนินกิจกรรมโครงการที่ผ่านมาได้ผลลัพท์เป็นอย่าง
2.เจ้าหน้าทีกองทุนได้มีการคัดเลือกโครงการ covid 19 ในส่วนที่ผู้รับชอบโครงการคือ อบต. เป็นโครงการหนึ่งมาประเมินคุณค่า ซึ่งทางเจ้าหน้าทีได้มีการประเมินคุณค่าโครงการที่ผ่านดำเนินการมาแล้ว ซึ่ง พี้เลี้ยงได้ตั้งข้อคำถามตามโจทย์ ที่มีในระบบ และพยายามอธิบายในแต่ละหัวข้อเพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน ในการประเมิน
3.พี้เลี้ยงได้มีการพูดถึง สถานะของกองทุน ณ ปัจจุปัน  มีการดำเนินโครงการแล้วหลายโครงการ แต่การเบิกจากงบประมาณ ยังไม่ถึง 70 % ซึ่งการใช้งบประมาณ ณ ปัจจุบันยังคงเหลือ 9 แสนกว่าบาท โดยตีเปปอร์ของการงบประมาณ แค่ 50 % ของจำนวนงบประมาณ ที่ได้รับปีนี้ ซึ่งทางพี่เลี้ยงได้เสนอแนะให้มีการพูดคุยกันใน ส่วนของผู้รับผิดชอบพยายามให้มีการใช้งบประมาณตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้เพื่อการจัดสรรงบประมาณในปีหน้าได้

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรม23 สิงหาคม 2564
23
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย พี่ดะห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มจากพี่เลี้ยงได้มีการประชุมผ่านระบบออนไลน์ พร้อมเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนตำบล และทำความเข้าใจในการประเมินคุณค่าของโครงการที่ผู้รับทุนการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล ทั้งนี้เพื่อการประเมินคุณค่าของการดำเนินโครงการที่ผ่านมา พร้อมสอบถามถึงการดำเนินการที่ผ่านมาของกองทุนโดยภาคร่วม แจ้งวัตถุประสงค์การประเมินครั้งนี้ ได้ชี้แจ้งให้เจ้าทีรับผิดชอบกองทุนได้รับว่าการประเมินคุณค่าของโครงการเพื่อการได้ทบทวนกระบวนการ และผล ในการดำเนินกิจกรรมโครงการที่ผ่านมาได้ผลลัพท์เป็นอย่างไร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เจ้าหน้าทีกองทุนได้มีการคัดเลือก โครงการจัดระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิค-19 ระดับพื้นที่ (LQ) อบต.ยะรม ปี 2564 เป็นโครงการหนึ่งมาประเมินคุณค่า ซึ่งทางเจ้าหน้าทีได้มีการประเมินคุณค่าโครงการที่ผ่านดำเนินการมาแล้ว ซึ่งพี่เลี้ยงได้ตั้งข้อคำถามตามโจทย์ ที่มีในระบบ และพยายามอธิบายในแต่ละหัวข้อเพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน ในการประเมิน
พี่เลี้ยงได้มีการพูดถึง สถานะของกองทุน ณ ปัจจุปัน  มีการดำเนินโครงการแล้วหลายโครงการ แต่การเบิกจากงบประมาณ เกิน100 %  ของจำนวนงบประมาณ ที่ได้รับปีนี้ จำนวนโครงการทั้งหมด 25 โครงการ เป็นเงิน 1,163,360 บาทซึ่งทางพี่เลี้ยงได้เสนอแนะ แต่เงินที่โอนให้ผู้ขอรับงบ บางประเภทยังไม่ได้ดำเนินการ แนะนำการขยายระยะเวลาดำเนินโครงการต่อ
เจ้าหน้าที่กองทุนและกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ยะรม ฝากขอบคุณทีมพี่เลี้ยงทุกคนที่ทำให้อบต.ยะรม สามารถดำเนินกิจกรรมต่อ แม้ว่าจะไม่มี เจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุข แต่จะพยายามให้ดำเนินการพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อัยเยอร์เวง23 สิงหาคม 2564
23
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย พี่ดะห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เริ่มด้วยทางพี่เลี้ยงจังหวัดกล่าววัตถุประสงค์ของการลงติดตามในครั้งนี้ พร้อมกับการแนวทางการดำเนินการในปีหน้าทีถึงการใช้ระบบเป็นหลัก
  • จากนั้นให้ทางเจ้าหน้าที่ผู้รับชอบกองทุนได้มีการเล่าถึงสถานการณ์และการดำเนินกองทุนทีผ่าน
  • ทางพี่เลี้ยงจังหวัดเริ่มการประเมินตามตัวตามแบบฟอร์มของการนิเทศน์
    -  ให้สุ่มโครงการที่จะตอบในการประเมินครั้งนี้
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้มีการเล่าถึงแนวทางในการดำเนินงานกองทุนในอนาคตในส่วนของการดำเนินผ่านระบบ และแนวทางการสนับสนุนเพิ่มงบประมาณสำหรับกองทุนที่ได้ดำเนินตามตัวชี้วัดของเขต สปสช.12 -เจ้าหน้าทีรับผิดชอบกองทุน ได้มีการใช้งบประมาณในปีนี้ สัดส่วนการใช้เทียบกับรายรับปี 2564 =1,159,337.51 บาท รายจ่าย 1,045,526.36 บาท
- การดำเนินงานที่ผ่านมานั้น มีส่งหนังสื่อ ในการเชิญชวนส่งขอรับทุนและจัดแผนสุขภาพของอบต. เช่น  รพ.สต.  ชมรมอสม. โรงเรียน  ประชาชนทั่วไป  ซึ่งปีนี้ และปีที่ผ่าน ทางกองทุนได้ดำเนินการโครงการได้ ของโดยส่วนใหญ่เนื่องจากไม่มีหน่วยงานไหนได้สามารถดำเนินกิจกรรมได้ ยกเว้นกิจกรรมเรื่องโควิค - การประเมินตามแบบฟอร์ม ซึ่งโดยส่วนใหญ่สำหรับการดำเนินจัดการเอกสาร มีความสมบูรณ์ อยู่ที 90 % ในส่วนระบบของกองทุนยังมีข้อมูลที่ต้องไปปรับปรุงและเพิ่มเติมในระบบยังมีความไม่สมบูรณ์ในการกรอกข้อมูล โดยเฉพาะ ใบโครงการที่ผู้รับทุนขอรับการสนับสนุน ยังมีการกรอกข้อมูล อีกทั้งแผนสุขภาพตำบลในระบบยังไม่มีการกรอกข้อมูลที่สมบูรณ์
- ส่วนการดำเนินงานของ LTC ทางกองทุน สำหรับอบต.ได้มอบหมายให้ พยาบาลวิชาชีพเป้นผู้รับผิดชอบ  อบต.เป็นคนรับผิดชอบหลัก ในการประสานงานและดำเนินงาน และทีมกองเลขาจะเป็นคนดำเนินตั้งเบิกจ่าย - พี้เลี้ยงได้กรอกข้อมูลการประเมินลงในระบบเรียบร้อยแล้ว

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.โกตาบารู23 สิงหาคม 2564
23
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย farkhung
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงได้พบเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนตำบล และทำความเข้าใจในการประเมินคุณค่าของโครงการที่ผู้รับทุนการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล พร้อมสอบถามถึงการดำเนินการที่ผ่านมา แนะนำกระบวนการ แนวทางทาง ความสำเร็จของผลงานที่เราของบประมาณการทำโครงการว่าเกิดคุณค่ามากน้อยเพียงใด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงพร้อมกับเจ้าหน้าทีรับผิดชอบกองทุนได้ลงไปประเมินคุณค่าโครงการ และแนะนำการดำเนินงานตามรูปแบบที่จำเป็นและครบกระบวนการทาง สปสช.ต้องการ

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อบต.บือมัง23 สิงหาคม 2564
23
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย farkhung
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เริ่มด้วยทางพี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการแนะนำตัวและกล่าววัตถุประสงค์ของการลงติดตามในครั้งนี้ พร้อมกับการแนวทางการดำเนินการในปีหน้าทีถึงการใช้ระบบเป็นหลักจากนั้นให้ทางเจ้าหน้าที่ผู้รับชอบกองทุนได้มีการเล่าถึงสถานกการณ์และการดำเนินกองทุนทีผ่าน ทางพี่เลี้ยงจังหวัดเริ่มการประเมินตามตัวตามแบบฟอร์มของการนิเทศน์
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การประเมินตามแบบฟอร์ม ซึ่งโดยส่วนใหญ่สำหรับการดำเนินเอกสารและระบบมีความเรียบร้อย สำหรับปีที่ผ่านมา แต่สำหรับปีนี้ในส่วนเอกสารนั้นมีการดำเนินงานเป็นปจจุบัน แต่ในระบบยังมีความไม่สมบูรณ์ในการกรอกข้อมูล โดยเฉพาะ ใบโครงการที่ผู้รับทุนขอรับการสนับสนุน ยังไม่มีการกรอกข้อมูล
ส่วนการดำเนินงานของ LTC พึ่งจะดำเนินการในปี64

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงย20 สิงหาคม 2564
20
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ฟ้าประทาน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงได้พบเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนตำบล และทำความเข้าใจในการประเมินคุณค่าของโครงการที่ผู้รับทุนการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล พร้อมสอบถามถึงการดำเนินการที่ผ่านมา และดำเนินการประเมินคุณค่า โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวานตำบลบาโงย ปีงบประมาณ 2564

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พีเลี้ยงพร้อมกับเจ้าหน้าทีรับผิดชอบกองทุนได้ลงไปประเมินคุณค่าโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวานตำบลบาโงย ปีงบประมาณ 2564 และแนะนำการดำเนินงานตามรูปแบบที่จำเป็นและครบกระบวนการทางสปสช.ต้องการ

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง20 สิงหาคม 2564
20
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย farkhung
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงได้พบเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนตำบล และทำความเข้าใจในการประเมินคุณค่าของโครงการที่ผู้รับทุนการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล พร้อมสอบถามถึงการดำเนินการที่ผ่านมา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พีเลี้ยงพร้อมกับเจ้าหน้าทีรับผิดชอบกองทุนได้ลงไปประเมินคุณค่าโครงการ และแนะนำการดำเนินงานตามรูปแบบที่จำเป็นและครบกระบวนการทางสปสช.ต้องการ

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินงาม20 สิงหาคม 2564
20
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ฟ้าประทาน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มจากพี่เลี้ยงได้พบเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนตำบล และทำความเข้าใจในการประเมินคุณค่าของโครงการที่ผู้รับทุนการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล พร้อมสอบถามถึงการดำเนินการที่ผ่านมา ทั้งนี้ได้มีการลงพบผู้รับทุน ในนามโรงเรียน เพื่อการประเมินคุณค่าของการดำเนินโครงการที่ผ่านมา ประเมินคุณค่าโครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่(LQ) อบต.เนินงาม ปี2564

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พีเลี้ยงพร้อมกับเจ้าหน้าทีรับผิดชอบกองทุนได้ลงไปประเมินคุณค่าโครงการ และได้แนะนำกิจกกรมในโครงการ

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา19 สิงหาคม 2564
19
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประสานให้ทางเจ้าหน้าที่กองทุนเลือกโครงการที่มีคุณภาพเป็นต้นแบบดครงการอื่นได้ ผลลัพธ์ของโครงการ พี่เลี้ยงกองทุนประสานกับเจ้าหน้าที่กองทุน ได้รับคำตอบว่ามี 2 โครงการแต่จากการที่ได้พบเจ้าของโครงการเห็นว่าโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการป้องกันเด็กจมน้ำ ตะโกน โยน ยื่ร โดยผู้ก่อการดี Merit Maker ในเขตเทศบาลนครยะลา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการเขียนหลักการสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ให้เกิดเครือข่ายการมีส่วนร่วมในชุมชนต่อการป้องกันเด็กจมน้ำพื้นที่จุดเสี่ยงจมน้ำ และอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุ 15 ปีน้อยกว่า 3.5 ต่อประชากรเด็กแสนคน เด็กที่เข้าอบรมการใช้สื่อสารการป้องกันเด็กจมน้ำ และเข้าใจว่าถ้าเกิดเห็นเด็กจมน้ำ ห้ามกระโดดลงไปช่วย ตะโกนเรียกให้ผู้อื่นช่วย ผลของดครงการเกิดกระบวนการสร้างกระตุ้นเครือข่าย ให้เกิดการดำเนินงานอย่าต่อเนื่องครอบคลุมทุกมาตราการนำไปสู้การปฏิบัติในพื้นที่อย่างมีรูปแบบ มีการทำงานอย่างมีระบบการติดตามเฝ้าระวัง กลุ่มที่ 1 ครู กลุ่มที่2 แกนำนักเรียน มีการทำให้เห็นด้ารการประชาสัมพันธ์ การติดป้าย การจัดนิทรรศการ การอบรมใช้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเป็นการฝึกการช่วยการฟื้นคืนชีพเบื้องต้น การใช้อุปกรณ์นวัตกรรมใหม่ๆระดับความพึงพอใจที่มีต่อคุณภาพในการจัดการโครงการร้อยละ 85% การทำโครงการจะมีการทำอย่างต่อเนื่องอีกในปี65และอาจจะเพิ่มการจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องนี้ให้กับพ่อแม่

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) เทสบาลตำบลบันนังสตา18 สิงหาคม 2564
18
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อิสมาแอล สิเดะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เริ่มด้วยทางพี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการแนะนำตัวและกล่าววัตถุประสงค์ของการลงติดตามในครั้งนี้ พร้อมกับการแนวทางการดำเนินการในปีหน้าทีถึงการใช้ระบบเป็นหลัก
  • จากนั้นให้ทางเจ้าหน้าที่ผู้รับชอบกองทุนได้มีการเล่าถึงสถานกการณ์และการดำเนินกองทุนทีผ่าน
  • ทางพี่เลี้ยงจังหวัดเริ่มการประเมินตามตัวตามแบบฟอร์มของการนิเทศน์
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการเล่าถึงแนวทางในการดำเนินงานกองทุนในอนาคตในส่วนของการดำเนินผ่านระบบ และแนวทางการสนับสนุนเพิ่มงบประมาณสำหรับกองทุนที่ได้ดำเนินตามตัวชี้วัดของเขต สปสช.12 -เจ้าหน้าทีรับผิดชอบกองทุน ได้มีการใช้งบประมาณในปีนี้ สัดส่วนการใช้เทียบกับรายรับ(%) ได้ 80.58 และเหลืองบประมาณ 102,275.46 บาท
- การดำเนินงานที่ผ่านมานั้น มีส่งหนังสื่อ ในการเชิญชวนส่งขอรับทุนและจัดแผนสุขภาพของเทศบาล เช่น  รพ.สต.  ชมรมอสม. โรงเรียน และโรงพยาบาล  ซึ่งปีนี้ และปีที่ผ่าน ทางกองทุนได้ดำเนินการโครงการได้ ของเทศบาลโดยส่วนใหญ่เนื่องจากไม่มีหน่วยงานไหนได้สามารถดำเนินกิจกรรมได้ ยกเว้นกิจกรรมเรื่องโควิก
- การประเมินตามแบบฟอร์ม ซึ่งโดยส่วนใหญ่สำหรับการดำเนินจัดการเอกสาร มีความสมบูรณ์ อยู่ที 90 % ในส่วนระบบของกองทุนยังมีข้อมูลที่ต้องไปปรับปรุงและเพิ่มเติมในระบบยังมีความไม่สมบูรณ์ในการกรอกข้อมูล โดยเฉพาะ ใบโครงการที่ผู้รับทุนขอรับการสนับสนุน ยังไม่มีการกรอกข้อมูล อีกทั้งแผนสุขภาพตำบลในระบบยังไม่มีการกรอกข้อมูลที่สมบูรณ์
- ส่วนการดำเนินงานของ LTC ทางกองทุน สำหรับเทศบาลได้มอบหมายให้ นักพัฒนาชุมชน อบต.เป็นคนรับผิดชอบหลัก ในการประสานงานและดำเนินงาน และทีมกองเลขาจะเป็นคนดำเนินตั้งเบอกจ่าย - พี้เลี้ยงได้กรอกข้อมูลการประเมินลงในระบบเรียบร้อยแล้ว

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อบต.บาเจาะ17 สิงหาคม 2564
17
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อิสมาแอล สิเดะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เริ่มด้วยทางพี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการแนะนำตัวและกล่าววัตถุประสงค์ของการลงติดตามในครั้งนี้ พร้อมกับการแนวทางการดำเนินการในปีหน้าทีถึงการใช้ระบบเป็นหลัก
  • จากนั้นให้ทางเจ้าหน้าที่ผู้รับชอบกองทุนได้มีการเล่าถึงสถานกการณ์และการดำเนินกองทุนทีผ่าน
  • ทางพี่เลี้ยงจังหวัดเริ่มการประเมินตามตัวตามแบบฟอร์มของการนิเทศน์
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการเล่าถึงแนวทางในการดำเนินงานกองทุนในอนาคตในส่วนของการดำเนินผ่านระบบ และแนวทางการสนับสนุนเพิ่มงบประมาณสำหรับกองทุนที่ได้ดำเนินตามตัวชี้วัดของเขต สปสช.12 -เจ้าหน้าทีรับผิดชอบกองทุน ได้มีการใช้งบประมาณในปีนี้ สัดส่วนการใช้เทียบกับรายรับ(%) ได้ 11.89 และเหลืองบประมาณ 859,164.02 บาท
- การดำเนินงานที่ผ่านมานั้น มีหลายส่วนมาขอรับทุน เช่น รพ.สต. ชมรมอสม. และชมรมเยาวชน กลุ่มชมรมโรงเรียนตาดีกา และโรงเรียนต่างๆในพื้นทีในพื้นที ซึ่งปีนี้ยังขาด ยังไม่ได้ขอการสนับสนุน คือ วงเล็บ 3 ศูนย์เด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ และคนพิการ - การประเมินตามแบบฟอร์ม ซึ่งโดยส่วนใหญ่สำหรับการดำเนินจัดการเอกสาร มีความสมบูรณ์ อยู่ที 60 % ในส่วนระบบของกองทุนยังมีข้อมูลที่ต้องไปปรับปรุงและเพิ่มเติมในระบบยังมีความไม่สมบูรณ์ในการกรอกข้อมูล โดยเฉพาะ ใบโครงการที่ผู้รับทุนขอรับการสนับสนุน ยังไม่มีการกรอกข้อมูล อีกทั้งแผนสุขภาพตำบลในระบบยังไม่มีการกรอกข้อมูลที่สมบูรณ์
- ส่วนการดำเนินงานของ LTC ทางกองทุนยังไม่มีดำเนินการ เนื่องจากยังไม่มี ดำเนินการใดๆมามากกว่า 2 ปี ซึ่งได้แน่นำให้ประสานงานกับพี่ชัยยุทธโดยตรง - พี้เลี้ยงได้กรอกข้อมูลการประเมินลงในระบบเรียบร้อยแล้ว

สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง16 สิงหาคม 2564
16
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประสานเจ้าหน้าที่กองทุนร่วมกันกับคณะกรรมการกองทุนและพิจารณากองทุนที่ดำเนินการไปแล้วที่มีผลลัพธ์การดำเนินงานเป็นแบบอย่างโครงการอื่นๆได้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงติดตามเจ้าหน้าที่กองทุนเลือกโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลเปาะเส้ง โดยผู้รับผิดชอบโครงการคืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลเปาะเส้ง กิจกรรมได้ดำเนินการโดยการสำรวจข้อมูลสุขภาพการจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ มีการตรวจคัดกรองประเมินสภาวะสุขภาพและค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง การรวมกลุ่มผู้สูงอายุเกิดเครือข่ายในการแลกเปลี่ยนเรื่องสุขภาพ จัดให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างในการรวมกลุ่มสร้างอาชีพ โดยมีกิจกรรมทำขนม สานตะกร้าพลาสติก รวมทั้งมีการคัดกรองและดูแลผู้มีภาวะซึมเศร้าในการติดตามมีการติดตามดูแลโดยอาสาบริบาลเป็นคนดูแลผู้ปวยติดเตียงให้ความรู้เรื่องอาหาร ทางกองทุนได้ลงประเมินโครงการพบว่าในปี2565 ทางอาสาสมัครสาธาณสุขขอทำโครงการในกลุ่มผู้สูงอายุเดิมและขยายเครือข่ายผู้สูงอายุทำงานแบบเชิงลึกมากขึ้น การลงเยี่ยมทุกสัปดาห์

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน (Audit) อบต.ตาเซะ10 สิงหาคม 2564
10
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การประสานงานติดต่อเจ้าที่รับผิดชอบกองทุนทางพี่เลี้ยงมีการลงไปเยี่ยมเพื่อรับฟังการบริหารกองทุนปี 64 พี่เลี้ยงชี้แจ้งวัตถุประสงค์ในการลงมารับฟังปัญหาข้อเสนอในการบริหารการจัดการกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงติดตามเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์ในการลงมาดูการบริหารทั้งเอกสารและการลงข้อมูลในระบบ ตามหัวข้อประเมิน มีคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่และผู้รับผิดชอบงานกอทุนสุขภาพตำบลและLtc คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนปี61 ครบถ้วน กองทุนมีการบันทึกข้อมูลในระบบยังไม่สมบูรณ์ การจัดทำแผนในระบบและการจัดทำแผนการเงินครบถ้วนการจัดโครงการบริหารจัดการกองทุน การจัดทำโครงการด้านสุขภาพยังไม่มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับกองทุนทุกโครงการ การแก้ปัญหาโควิดในพื้นที่มีโครงการจำนวน 2 โครงการและถูกต้องครบถ้วนแต่ใช้งบกลางของอบต.การจัดทำบัญชีการเงินกองทุนครบ ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนหลายที่ มีจำนวนคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการการติดตามการดำเนินงานโครงการ

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อบต.กาตอง10 สิงหาคม 2564
10
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การประสานงานติดต่อเจ้าที่รับผิดชอบกองทุนทางพี่เลี้ยงมีการลงไปเยี่ยมเพื่อรับฟังการบริหารกองทุนปี 64 พี่เลี้ยงชี้แจ้งวัตถุประสงค์ในการลงมารับฟังปัญหาข้อเสนอในการบริหารการจัดการกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงติดตามเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์ในการลงมาดูการบริหารทั้งเอกสารและการลงข้อมูลในระบบ ตามหัวข้อประเมิน มีคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่และผู้รับผิดชอบงานกอทุนสุขภาพตำบลและLtc คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนปี61 ครบถ้วน กองทุนมีการบันทึกข้อมูลในระบบครบถ้วน การจัดทำแผนในระบบและการจัดทำแผนการเงินครบถ้วนการจัดโครงการบริหารจัดการกองทุน การโอนเงินให้หน่วยจัดบริการรพสต. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพครบถ้วน การแก้ปัญหาโควิดในพื้นที่มีโครงการจำนวน 2 โครงการและถูกต้องครบถ้วน การจัดทำบัญชีการเงินกองทุนพบว่าเงินในระบบบัญชีกับระบบธนาคารไม่ตรงกัน(แต่มีหลักฐานการเบิกจ่าย ยังลงในระบบไม่ครบถ้วน ในระบบกับเช็คกับสมุดตรงกัน) ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนหลายที่ มีจำนวนคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% การติดตามการดำเนินงานโครงการ LTC ครบถ้วนสมบูรณ์ เพิ่มCGในช่วงสถานการณ์ในพื้นที่ให้มากขึ้น มีการสลับเปลี่ยนเจ้าหน้าที่กองการศึกษามาดูแลแทนอาจจำเป็นจะต้องมารับการฝึกอบรมการลงข้อมูลในระบบใหม่

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อบต.ตาชี10 สิงหาคม 2564
10
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การประสานงานติดต่อเจ้าที่รับผิดชอบกองทุนทางพี่เลี้ยงมีการลงไปเยี่ยมเพื่อรับฟังการบริหารกองทุนปี 64 พี่เลี้ยงชี้แจ้งวัตถุประสงค์ในการลงมารับฟังปัญหาข้อเสนอในการบริหารการจัดการกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงติดตามเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์ในการลงมาดูการบริหารทั้งเอกสารและการลงข้อมูลในระบบ ตามหัวข้อประเมิน มีคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่และผู้รับผิดชอบงานกอทุนสุขภาพตำบลและLtc คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนปี61 ครบถ้วน กองทุนมีการบันทึกข้อมูลในระบบครบถ้วน การจัดทำแผนในระบบและการจัดทำแผนการเงินครบถ้วนการจัดโครงการบริหารจัดการกองทุน การจัดทำโครงการด้านสุขภาพครบถ้วน การแก้ปัญหาโควิดในพื้นที่มีโครงการจำนวน 2 โครงการและถูกต้องครบถ้วน การจัดทำบัญชีการเงินกองทุนครบ ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนหลายที่ มีจำนวนคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% การติดตามการดำเนินงานโครงการ ถือว่าสมบูรณ์ครบถ้วน

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อบต.สะเอะ23 กรกฎาคม 2564
23
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อิสมาแอล สิเดะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เริ่มด้วยทางพี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการแนะนำตัวและกล่าววัตถุประสงค์ของการลงติดตามในครั้งนี้ พร้อมกับการแนวทางการดำเนินการในปีหน้าทีถึงการใช้ระบบเป็นหลัก
  • จากนั้นให้ทางเจ้าหน้าที่ผู้รับชอบกองทุนได้มีการเล่าถึงสถานกการณ์และการดำเนินกองทุนทีผ่าน
  • ทางพี่เลี้ยงจังหวัดเริ่มการประเมินตามตัวตามแบบฟอร์มของการนิเทศน์
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการเล่าถึงแนวทางในการดำเนินงานกองทุนในอนาคตในส่วนของการดำเนินผ่านระบบ และแนวทางการสนับสนุนเพิ่มงบประมาณสำหรับกองทุนที่ได้ดำเนินตามตัวชี้วัดของเขต สปสช.12 -เจ้าหน้าทีรับผิดชอบกองทุน ได้มีการใช้งบประมาณในปีนี้ สัดส่วนการใช้เทียบกับรายรับ(%) ได้ 75.72 และเหลืองบประมาณ221,367.25 บาท ซึ่ง  ซึงการดำเนินงานที่ผ่านมานั้น มีหลายส่วนมาขอรับทุน เช่น  รพ.สต. ศูนย์เด็ก ชมรมอสม. และชมรมเยาวชน ในพื้นที ซึ่งปีนี้ยังขาด ทางมัสยิด กลุ่มชมรมโรงเรียนตาดีกา และโรงเรียนต่างๆในพื้นที ไม่ได้ขอการสนับสนุน - การประเมินตามแบบฟอร์ม ซึ่งโดยส่วนใหญ่สำหรับการดำเนินเอกสาร มีความสมบูรณ์ อยู่ที 80 % ในส่วนระบบของกองทุนยังมีข้อมูลที่ต้องไปปรับปรุงและเพิ่มเติมในระบบยังมีความไม่สมบูรณ์ในการกรอกข้อมูล โดยเฉพาะ ใบโครงการที่ผู้รับทุนขอรับการสนับสนุน ยังไม่มีการกรอกข้อมูล อีกทั้งแผนสุขภาพตำบลในระบบยังไม่มีการกรอกข้อมูลที่สมบูรณ์
- ส่วนการดำเนินงานของ LTC ทางกองทุนยังไม่ดำเนินการเบิกจ่ายให้กับผู้ดูแล เนื่องจากยังไม่มีแผนของการช่วยเหลือ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 15 คน ปี2564
- พี้เลี้ยงได้กรอกข้อมูลการประเมินลงในระบบเรียบร้อยแล้ว

การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ14 กรกฎาคม 2564
14
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อิสมาแอล สิเดะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เริ่มด้วยทางพี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการแนะนำตัวและกล่าววัตถุประสงค์ของการลงติดตามในครั้งนี้ พร้อมกับการแนวทางการดำเนินการในปีหน้าทีถึงการใช้ระบบเป็นหลัก
  • จากนั้นให้ทางเจ้าหน้าที่ผู้รับชอบกองทุนได้มีการเล่าถึงสถานกการณ์และการดำเนินกองทุนทีผ่าน
  • ทางพี่เลี้ยงจังหวัดเริ่มการประเมินตามตัวตามแบบฟอร์มของการนิเทศน์
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการเล่าถึงแนวทางในการดำเนินงานกองทุนในอนาคตในส่วนของการดำเนินผ่านระบบ และแนวทางการสนับสนุนเพิ่มงบประมาณสำหรับกองทุนที่ได้ดำเนินตามตัวชี้วัดของเขต สปสช.12 -จาการเล่นของเจ้าหน้าทีรับผิดชอบกองทุน ได้มีการใช้งบประมาณในปีนี้ เกิน 80 เปอร์เซนต์ของงบการจัดสรร และเหลืองบประมาณ ในกองทุนไม่เกินหลักแสนบาทแล้ว ซึ่งยังมีโครงการ covid 19 ทียังไม่ได้มีการเบิก ซึ่งโครงการนี้ น่าจะเบิกในเดือนนี้ ซึงการดำเนินงานที่ผ่านมานั้น มีหลายส่วนมาขอรับทุน เช่น โรงเรียน รพ.สต. ศูนย์เด็ก ชมรมอสม. และชมรมเยาวชน ในพื้นที ซึ่งปีนี้ทางมัสยิด และกลุ่มชมรมโรงเรียนตาดีกาไม่ได้ขอการสนับสนุน
  • การประเมินตามแบบฟอร์ม ซึ่งโดยส่วนใหญ่สำหรับการดำเนินเอกสารและระบบมีความเรียบร้อย สำหรับปีที่ผ่านมา แต่สำหรับปีนี้ในส่วนเอกสารนั้นมีการดำเนินงานเป็นปจจุบัน แต่ในระบบยังมีความไม่สมบูรณ์ในการกรอกข้อมูล โดยเฉพาะ ใบโครงการที่ผู้รับทุนขอรับการสนับสนุน ยังไม่มีการกรอกข้อมูล
  • ส่วนการดำเนินงานของ LTC ทางกองทุนได้ดำเนินการเบิกจ่ายเรียบร้อยแล้วสำหรับปีนี้ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 7 คน
  • พี้เลี้ยงได้กรอกข้อมูลการประเมินลงในระบบเรียบร้อยแล้ว
สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน5 กรกฎาคม 2564
5
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อิสมาแอล สิเดะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มจากพี่เลี้ยงได้พบเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนตำบล และทำความเข้าใจในการประเมินคุณค่าของโครงการที่ผู้รับทุนการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล พร้อมสอบถามถึงการดำเนินการที่ผ่านมา ทั้งนี้ได้มีการลงพบผู้รับทุน ในนามโรงเรียน เพื่อการประเมินคุณค่าของการดำเนินโครงการที่ผ่านมา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี้เลี้ยงได้มีการพบเจ้าหน้าทีผู้รับผิดชอบกองทุน และสอบถามถึงสถานการณ์การดำเนินกองทุนทีผ่านมาซึ่ง ผู้รับผิดชอบกองทุนได้สะท้อนข้อมูล ในช่วงที่ผ่านมาทางสตง.ได้ผ่านการตรวจเอกสารกองทุนและมีข้อคำถามที่ส่งมาให้ทางผู้รับชอบกองทุนได้ตอบ ซึ่งกรณีมีการ ท้วงติ่งในเรื่อง การจัดทำแผน และไม่มีศพด.ของรับทุน ซึ่งได้ชีแจ้งไปแล้ว และในเรื่องการรับทุนของหน่วยงานในพื้นที เช่นโรงเรียน รพ.สต.ที่ทาง สตง.ให้มีการเซ็นรับ และผู้รับชอบโครงการต้องเป็นหัวหน้า ซึ่งได้มีการพูดเรื่องนี้ ไปแล้วกับ สตง. พร้อมแนวทางที่ทางสตง.ได้แนะนำให้ทางเจ้าหน้าทีรับชอบกองทุนแนบคำสั่งการมอบอำนามของผู้รับทุนในกรณีไม่ใช่หัวหน้าองค์
ทั้งนี้พีเลี้ยงพร้อมกับเจ้าหน้าทีรับผิดชอบกองทุนได้ลงไปประเมินคุณค่าโครงการ กับโรงเรียนนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ 1 มีการพูดคุย ในประเมินการดำเนินงานที่ผ่าน ซึ่งได้มีการดำเนินขอทุนในปีนี้ 2 โครงการ คือ 1.โครงการส่งเสริมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นให้ถูกต้องตามมาตรฐานเพื่อสุขภาพอนามัยที่ดีของผู้เรียน (02-23) 2.โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ในสถานศึกษา (02-14) พร้อมกับให้ทาง ผอ.โรงเรียนได้ประเมินโครงการที่ขอรับทุนที่เสร็จเรียบร้อยในระบบ โดยประเมินโครงการส่งเสริมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นให้ถูกต้องตามมาตรฐานเพื่อสุขภาพอนามัยที่ดีของผู้เรียน (02-23) หลังจากการประเมินทางพี่เลี้ยงได้แนะนำ ให้ทางเจ้าหน้าทีผู้รับชอบกองทุนช่วยออกระหัส ให้กับโรงเรียนเพื่อในการพัฒนาโครงการด้วยตนเองในอนาคต และได้ชี้ให้เห็นว่าในระบบสามารถปรินออกเป็นรายงานฉบับสมบูรณ์ได้ซึ่งได้ต้องยุ่งอยากในการจัดทำรายงานใหม่เพื่อปิดโครงาร

ประชุมพี่เลี้ยง(ประเมินติดตาม (Audit)) ครั้งที่ 42 มิถุนายน 2564
2
มิถุนายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อิสมาแอล สิเดะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.นัดหมายคณะทีมพี่เลี้ยง ในไลน
2.ประสานงานเรื่องสถานที 3.จัดประชุม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตามระเบียบวาระการประชุม ตามไฟลที่แนบ

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.โกตาบารู ครั้งที่ 231 พฤษภาคม 2564
31
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย farkhung
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้พัฒนาโครงการตามแผนงาน และอนุมัติเงิน ได้เข้าร่วมทำแผนปี2564โดยให้คณะกรรมการทบทวนสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ให้ครอบคลุมทุกประเภท หรือพิจารณาข้อมูลที่ตำบลที่คนในชุมชนมีปัญหาด้านสุขภาพเพื่อนำมาแก้ไข

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อนุมัติตามแผนเงิน แผนสุขภาพ
ตามที่เสนอ

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ ครั้งที่ 231 พฤษภาคม 2564
31
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รูสลาม สาร๊ะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.แนะนำสนับสนุนชี้แนะการทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโดยการพัฒนาโครงการในระบบและหาผู้รับทุนกลุ่มใหม่ๆเช่น10(2) 2.ตอบคำถามที่ค้างคาใจ 3..ให้คัดเลือกโครงการเพื่อประเมินคุณค่าโครงการในเดือนหน้า

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เจ้าหน้าที่กองทุนสนใจการทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโดยการพัฒนาโครงการในระบบและหาผู้รับทุนกลุ่มใหม่ๆเช่น10(2) 2.เจ้าหน้าที่กองทุนและกรรมการกองทุนเข้าการใช้ระบบและระเบียบมากขึ้น 3.เจ้าหน้าที่กองทุนและกรรมการกองทุนเข้าใจวิธีการประเมินคุณค่าโครงการ 4.มีโครงการเข้ามาเพิ่ม4โครงการ

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ครั้งที่ 231 พฤษภาคม 2564
31
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงติดตามพัฒนากิจกรรม10(1)และ10(2)แนะนำให้แต่ละโครงการมีการติดตามประเมินผลและให้คำแนะนำดดยเฉพาะโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เจ้าหน้าที่โครงการจะแต่งตั้งคณะกรรมกรติดตามและลงติดตามทุกโครงการใน10(1)และ10(2) เพิ่มเติมโครงการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพองค็ารบริหารส่วนตำบลบ้านแหร10(4) โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคระบาดในพื้นที่(โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา Covib-19 ครั้งที่2

ประชุมพี่เลี้ยง ครั้งที่ 330 พฤษภาคม 2564
30
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อิสมาแอล สิเดะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.นัดหมายคณะทีมพี่เลี้ยง ในไลน
2.ประสานงานเรื่องสถานที 3.จัดประชุม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.บันทึกข้อมูลการเยี่ยมกองทุน  (เพื่อเบิกเงินได้)
- ครั้งที่ 1 การลงพัฒนาแผนสุขภาพตำบลในระบบ  ให้เขียนผลผลิต เช่น เกิดแผนสุขภาพ ประเด็น..,.. - ครั้งที่ 2 การพัฒนาโครงการผู้ขอรับทุน  ให้เขียน ผลผลิต เกิดโครงการเกี่ยวกับ แผน .,, จำนนวน,,,โครงการ - ครั้งที่ 3 การพัฒนาโครงการผู้ขอรับทุน ให้เขียน ผลผลิต เกิดโครงการเกี่ยวกับ แผน .,, จำนนวน,,,โครงการ
2.การลงเยี่ยมกองทุนที่ลงยังไม่ครบจำนวนครั้งกิจกรรม (กองทุน coaching) - ให้ดำเนินการเติมและลงเยี่ยมเพิ่มเติม ให้ครบทั้ง3 ครั้ง
- หากไม่สามารถลงได้จริง ให้มีการโทรสอบถามเจ้าหน้าทีรับผิดชอบหรือ ใช้วิดีโอคอล (คับเจอร์รูปตอนวิดีโอ) และดูข้อมูลในระบบ - ส่วนการรายงานสถานการณ์ ของกองทุน ให้รายงานตามความเป็นจริงที่พบเจอ  เช่น เรื่องแผนงานทำได้กี่แผนในระบบ พิจารณาโครงการแล้วกี่โครงการ  และพี่เลี้ยงได้ให้ข้อเสนอแนะอะไรบ้าง
3.กิจกรรมคงเหลือ ในเดือน (มิ.ย.-ก.ค.64 ) จะมีการนัดประชุมออกแบบอีกครั้ง กิจกรรม 1. ประเมินคุณค่าโครงการ/ติตามกองทุน (กองทุน coaching)  2. ลงติดตามกองทุนสุขภาพตำบล (Audit) 19 กองทุน  ช่วงเดือน มิ.ย.2564

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงย ครั้งที่ 228 พฤษภาคม 2564
28
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ฟ้าประทาน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้ลงเยี่ยมเพื่อพัฒนาและรับทราบการดำเนินงานกองทุนเทศบาลตำบลท่าสาปกองทุนLTCมีผู้เข้าร่วมที่เป็นกรรมการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การลงสนับสนุนการพัฒนาโครงการบรรลุตามเป้าหมายอย่างชัดเจน

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโล๊ะหะลอ ครั้งที่ 228 พฤษภาคม 2564
28
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รูสลาม สาร๊ะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.แนะนำระเบียบกองทุน 2.แนะนำเพิ่มเติมการปรับปรุงแผน 3.สนับสนุนชี้แนะการพัฒนาโครงการในระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เจ้าหน้าที่และกรรมการกองทุนเข้าใจระเบียบมากขึ้นและรับที่มีการประชุมกรรมการอีกครั้ง 2.เกิดแผนงานในระบบ3แผน 3.มีโครงการเข้ามา3 โครงการ

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ท่าสาป ครั้งที่ 228 พฤษภาคม 2564
28
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย pensri
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้ลงเยี่ยมเพื่อพัฒนาและรับทราบการดำเนินงานกองทุนเทศบาลตำบลท่าสาปกองทุนLTCมีผู้เข้าร่วมที่เป็นกรรมการจำนวน11คนและมีผู้ช่วยเจ้าพนักงานสุขภิบาลอีก1คนโครงการจัดบริการดูแลระยะทางด้านสาธารณสุขที่ขอสันบสนุนงบประมาณ2564จำนวนทั้งสิ้น35500

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จำนวนผู้ป่วยที่ต้องดูแล 69 รายรายละเอียดตาม Care Plane ดังนี้ กลุ่มที่1 เคลื่อนไหวได้บ้าง มีปัญหาการกิน การขับถ่ายจำนวน 25 ราย เป็นเงิน 49000บาท กลุ่มที่2 เคลื่อนไหวได้บ้างมีภาวะสับสน และอาจมีปัญหาการกินการขับถ่ายจำนวน 12ราย 42780บาท กลุ่มที่3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน การขับถ่าย หรือเจ็บป่วยรุนแรง จำนวน18ราย รวมเแ็นเงิน 66260บาท กลุ่มที่4 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ เจ็บป่วยรุนแรง หรืออยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต จำนวน 14 ราย รวมเ็นเงิน 196960บาท พี่เลี้ยงเสนอแนะให้ทบทวนตำแหน่งอนุกรรมการและเลขานุการเพื่อให้ทราบในกรณีประธานไม่สามารถเข้าร่วมได้ ระหว่างรอการประกาศผลการเลือกตั้งแทนนายกเทศมนตรี กองทุนเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพา LTC มียอดเงินคงเกลือทั้งสิ้น 380,464.27บาท

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ท่าสาป28 พฤษภาคม 2564
28
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย pensri
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลาได้ให้คำแนะนำบทบาทเรื่องหลักการตามระเบียบกองทุนในเรื่องหน้าที่ของคณะกรรมการและปฏิทินรอบปีของกองทุน สปสช. รวมทั้งประเภทของผู้เข้ารับทุนในปีนี้ คงต้องเพิ่มแผนงานประชาสัมพันธ์ในการใช้งบประมาณปีนี้โดยเฉพาะเพื่อให้ง่ายควรให้ผู้รับทุนเขียนโครงการผ่านระบบเพราะที่ผ่านมากองทุนยังใช้กระดาษและเจ้าหน้าที่ต้องนำมาพิมพ์ให้ ได้เสนอแนะเพิ่มเติมให้คณะกรรมการช่วยกันประชาสัมพันธ์ให้มีโครงการมาขอรับการสนับสนุน เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ เป็นต้น จากแผนการติดตามปี2564
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป แผนงานสิ่งแวดล้อม ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป แผนงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป แผนงานสารเสพติด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์ จากแผนการติดตามปี2564 มีแผนงานทั้งหมดจำนวน 21 โครงการ แยกเป็น ประเภทที่ 1สนับสนุนหน่วยงาน/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข จำนวน 10 โครงการ ประเภทที่2 สนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่นๆจำนวน 7 โครงการ ประเภทที่3 สนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ  จำนวน 2 โครงการ ประเภทที่4สนับสนุนการบริหาร/การพัฒนากองทุน จำนวน 1 โครงการ ประเภทที่5 สนับสนุนการเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติ จำนวน 1 โครงการ

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง ครั้งที่ 228 พฤษภาคม 2564
28
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จากแผนการดำเนินวงานสร้างสุขภาพและการป้องกันโรคประจำปีงบประมาณ 2564 ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเปาะเส้ง อ.เมือง จ.ยะลา มีการอนุมัติและมีการพัฒนาโครงการของ รพ.สต. โอนงบประมาณไปแล้วจำนวน 12 โครงการ โรงเรียนที่ขอจำนวน 10 โครงการ (รอโรงเรียนเปิดเทอม) กลุ่มสตรี รอการเปิดบัญชี จำนวน 2 โครงการ กลุ่ม อสม. จำนวน 1 โครงการ กลุ่มตาดีกา จำนวน 1 โครงการ รอBook Bank องคืการบริหารส่วนตำบลเปาะเส้ง จำนวน 2 โครงการ โอนงบประมาณไปแล้ว กลุ่มองค์กรกำนันผู้ใหญ่บ้าน 1 โครงการ (รอBook Bank) สรุปงบประมาณ รพ.สต.เปาะเส้ง 238,220บาท ดรงเรียนคุรุชนพัฒนา 45,000บาท โรงเรียนสามแยกบ้านเนียง 40,000บาท โรงเรียนบ้านไทรงม 29,000บาท โรงเรียนสลากกินแบ่ง 25,005บาท ศพด.อบต.เปาะเส้ง 8,000บาท กองทุน 125,251บาท กองสาธารณสุข อบต.เปาะเส้ง 125,251บาท ชมรม/กลุ่มภาคประชาชน 106,980 บาท กำนัน/ผญ บ้าน 30,000บาท
สตรี 40,700บาท อสม 18,230บาท
ตาดีกา 18,050บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โครงการจัดอบรมให้ความรู้การรณรงค์ปลูกผัก โครงการชุมชนปลอดสารเคมีบริโภคอาหารปลอดภัย โครงการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนชั้นประถมปีที่1-6 โครงการกีฬาส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนคุรุชนพัฒฯา โครงการการป้องกันโรคติดต่อภายในโรงเรียน โครงการวัยใสใส่ใจสุขภาพ โครงการรู้เท่าทันสุขภาพลดเสี่ยงโรคภัย โครงการสุขภาพดีชีวิตมีสุข โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเปาะเส้ง 2564 โครงการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพ โครงการสร้างภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี 2564 โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมการพัฒนาการเด็ก0-5ปี โครงการเฝ้าระวังควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 2564 โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง โครงการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และผู้พิการ โครงการรณรงคืป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน โครงการป้องกันวัณโรค โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อฟื้นฟูโรคทางระบบกล้ามเนื้อด้วยลูกประคบสมุนไพร โครงการรวมใจเป็นหนึ่งเด็กเปาะเส้ง ฟันดี โครงการบริหารจัดการและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุน 2564 โครงการอบรมอาสาสมัครประจำครอบครัว โครงการการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ2564 โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด โครงการจัดอบรมให้ความรู้การออกกำลังกาย โครงการการป้องกันโรคติดต่อภายในโรงเรียน โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด โครงการส่งเสริมสุขภาพสร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี 2564

สนับสนุนพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง ครั้งที่ 227 พฤษภาคม 2564
27
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย farkhung
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.อนุมัติโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID)-19 ระลอกใหม่ในตำบลอาซ่อง อบต.อาซ่อง จำนวน 100,000 บาท 2. โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID)-19 ระลอกใหม่ หน่วยงานมัสยิด 9 โครงการๆละ จำนวน 18,750 บาท

อบต. 1 โครงการเป็นเงิน 100,000

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อนุมัติแผนและจำนวนเงินที่เบิก ทั้งหมด 268,750 บาท

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ยะหา ครั้งที่ 225 พฤษภาคม 2564
25
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Nardin
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จากการลงเยี่ยมติดตามสนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนฯ ท.ยะหา ได้มีการประชุมคณะกรรมการกองทุนเมื่อวันที่  10  มีนาคม 2564  โดยมีโครงการที่ได้ผ่านการพิจารณาจำนวน 13 โครงการรวมที่กำลังปรับแก้ 1 โครงการ(อนุมัติแล้ว)    และยังไม่เข้าพิจารณา 1 โครงการ(กำลังพัฒนา)  และมีโครงการเพิ่มเติม 10(5)  1 โครงการ วงเงิน 38,470.-  บาท รวมวงเงินทั้งสิ้น 477,670.- บาท  จากการพูดคุยสอบถามและตรวจสอบข้อมูลในระบบ กองทุน ท.ยะลา ได้ดำเนินการเบิกจ่ายแล้วในส่วนของงบบริหารจัดการกองทุน 10(4) จำนวน 5,150.- บาท  โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  10(5)  วงเงิน 46,270.-  บาท  และเตรียมจ่ายเข้าแหล่งรับทุน(คลีนิคครอบครัว รพร.ยะลา) จำนวน 3 โครงการ แต่ยังไม่ได้โอนเงินอีก(ทำแต่ฏีกา) โดยกองทุน ท.ยะหายังมีความกังวลในเรื่องของการดำเนินโครงการในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด ทั้งนี้ได้แนะนำให้กองทุนกรณีทำฏีกาให้ทำการเบิกจ่ายไปยังแหล่งรับทุนได้ แต่หากในระบบได้จัดฏีกาแล้วแต่ยังไม่ได้เบิกจ่ายจะด้วยเหตุใดก็ตามให้แก้ไขข้อมูลเพื่อให้คงสถานะเป็นปัจจุบัน นอกจากนี้ยังติดตามกรณีที่ได้รับการประสานงานในเรื่องของการบันทึกรายได้ กรณีดอกเบี้ยรับของกองทุนฯ จำนวน  570.26  บาทให้ดำเนินการป้อนข้อมูลเข้าระบบให้เป็นปัจจุบัน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กองทุน เทศบาลตำบลยะหา มีโครงการตามแผนงานจำนวน  15  โครงการ  ได้รับการพิจารณาอนุมัติรวม 10(5) จำนวน  14  โครงการ อยู่ระหว่างการพัฒนา 1 โครงการ วงเงินทั้งสิ้น 495,360.-  บาท  เบิกจ่ายและดำเนินการแล้วจำนวน 2 โครงการ คืองบบริหารจัดการฯ 10(4) 5,150.-  บาท และ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 10(5) จำนวน 46,270.- บาท  เตรียมเบิกจ่าย 3 โครงการ(ทำฏีกาอย่างเดียวไม่ตั้งเบิก) คลินิกหมอครอบครัว 10(1) วงเงินรวม 132,275.- บาท

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ท่าสาป ครั้งที่ 121 พฤษภาคม 2564
21
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย pensri
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สืบเนื่องจากการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีและสท.เทศบาลตำบลท่าสาปทำให้การประชุมล่าช้าออกไปแต่ทางเทศบาลตำบลท่าสาปยังคงใช้ในแนวทางการทำแผนกองทุนจำนวน 21 โครงการ ทางประธานกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าสาปโดยเฉพาะงานสุขภาพภาคประชาชนในพื้นที่ตามที่ได้มีนโยบายด้านสาธารณสุขดังนี้ เสริมสร้างสุขภาพประชาชนมุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพให้มีการออกกำลังกายโดยการปรับพื้นที่สาธารณะให้เป็นสถานที่ออกกำลังกาย ส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพของบุคคลทั่วไปและผู้สูงอายุ ส่งเสริมและสนับสนุนในการสร้างโอกาสให้แก่ผู้ด้อยโอกาส ผู้เปราะบาง ผู้ยากไร้ ผู้พิการ ให้มีคุณภาพชีวิตที่มีสุขภาพและสามารถพึ่งตนเองได้ พัฒนาศักญภาพด้านสาธารณะสุขมูลฐานของคนในชุมชนและสนับสนุนการให้บริการสุขอนามัย สุขศึกษาโภชนาการ ตามแนวปฏิบัติการตามมาตราฐาน สาธารณสุขและให้ความรู้สำคัญกับการพัฒนาบุคคลากร กลุ่มสตรี อาสาสมัครสาธารณสุข อสม. ส่งเสริมศูนยืบริการสาธารณสุขด้านเวชกรรมฟื้นฟูร่วมกับโรงเรียนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป ส่งเสริมสนับสนุนการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่อันตราย พัฒนาปรับปรุงงานสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อมในชุมชนผู้ประกอบการร้านอาหาร ร้านค้า แผงลอยให้ถูกลักษณะตามหลักสูตรสุขภิบาลอาหาร - พี่เลี้ยงกองทุนเสนอให้มีการทบทวนบทบาทการทำงานและแนวปฏิบัตของกองทุน ต่อคณะกรรมการกองทุนเพราะเห็นว่าที่ผ่านมามีการหมดวาระลงนั้นสรุปได้ว่ามีผู้เข้าร่วมเพิ่มเติม 2 คนในสัดส่วนของสมาชิกสภา และมีการทบทวนดำเนินงานดังนี้ เพื่อให้กรรมการกองทุนได้ทราบ 1.มาตราการไม่จัดสรรค่าเงินค่าเหมาจ่ายรายหัวแก่กองทุนทีมีการสะสมเงินเหลือมากกว่า2 เท่าของรายรับปีที่ผ่ามา 2.สปสช.จะมีการพัฒนาโครงการกลไกพี่เลี้ยงประจำกองทุนทำหน้าที่เป็นวิทยากร และเป็นที่ปรึกษาการทำแผนสุขภาพ การจัดทำโครงการที่มีคุณภาพและช่วยวางระบบการประเมินติดตามโครงการ 3.อปท.ต้องสมทบเป็นไปตามสัดส่วนตามขนาดรายได้ โดยสมทบไม่เกินวันที่31 มีนาคม 2564 4.ต้องจัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการปี2563โดยการรวบรวมสรุปผลโครงการเป็นเอกสารและค่าใช้จ่ายทางการเงินโครงการเก็บไว้่ที่กองทุนเพื่อรับการตรวจสอบต่อไป .รายงานทางการเงินปี 2563 6.ต้องจัดทำแผนทางการเงินรับ-รับจ่ายประจำปี2564โดยใช้แบบฟอร์มที่ สปสช. กำหนด 7.การขยายแผนงานโครงการสามารถขยายได้อันเนื่องมาจากสถานการร์แพร่โควิด19 8.กองทุนดูแลระยะสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพาตนเองเป็นการจัดบริการทุกกลุ่มวัยและทุกสิทธิรักษาพยาบาลที่มีผลประเมิน ADC เท่ากับหรือน้อยกว่าคะแนน สำหรับการพัฒนาแผนโครงการจำนวน 21 ดครงการ ได้มีการพัฒนาเพิ่มเติมโดยเฉพาะตัวชี้วัดและความต่อเนื่องการติดตามประเมินผลเช่นดครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการในเด็ก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แนวนโยบายการปฏิบัติงานด้านสุขภาพ กรรมการกองทุนได้ทราบแนวทางการปฏิบัติงานของกองทุน แผนโครงการ 21 โครงการ กิจกรรมประเภทที่ 1 สนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข โครงการควบคุมการป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ โครงการเด็กท่าสาปมีคุณภาพด้วยกระบวนการกินกอดเล่นเล่าเฝ้าดูฟัน โครงการสร้างภูมิคุ้มกันห่างไกลบุหรี่และยาเสพติด โครงการหนูน้อยตำบลท่าสาปปลอดภัยปลอดโรคป้องกันโดยวัคซีน โครงการรู้ทันมะเร็งเต้านมมะเร็งปากมดลูก โครงการสุขภาพดีทุกช่วงวัยด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย โครงการปรับสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนพฤติกรรมสู้โรคไข้เลือดออก โครงการลดภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงด้วยวิถีชุมชน โครงการส่งดเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กตำบลท่าสาป โครงการจัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันควบคุมโรคที่เกิดจากยุ่ง แมลงพาหะนำโรค กิจกรรมประเภทที่2
โครงการเยาวชนรักษืสิ่งแวดล้อม โครงการเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการน้ำมันยัต(ศพ) ตามหลักศาสนาเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 โครงการพัฒนาศักยภาพฟื้นฟูวิชาการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง โครงการเยาวชนห่างไกลยาเสพติดด้วยกิจกรรม To Be Number One
โครงการปลดทุกขื นั่งสุข ขยับสบาย โครงการอบรมแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวตำบลท่าสาป ประเภทที่3 โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมดภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลฮูดา โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยกิจกรรมสัญจรเยี่ยมเยือนถึงบ้าน ประเภทที่4 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนและบรืหารจัดการกองทุน ประเภทที่5 ค่าใช้จ่ายกรณีเกิดโรคระบาด ภัยพิบัติต่างๆในพื้นที่

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ลำใหม่12 พฤษภาคม 2564
12
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย สุชาดา สุวรรณคีรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เจ้าหน้าที่และผู้รับผิดชอบกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลลำใหม่ เพื่อติดตามการแก้ไขปัญหาเรื่องหลักฐานการขอรับทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การดำเนินการของผู้บริหารกองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลลำใหม่ ได้ดำเนินการเรียกเงินคืน จากผู้ขอรับทุนที่ไม่สามารถดำเนินการให้เป็นไปตามแผนงาน/โครงการได้ ซึ่งขณะนี้เงินกองทุนก็ยังไม่ได้ดำเนินโครงการใหม่ เนื่องจากขาดผู้บริหาร และอยู่ในช่วงการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้เจ้าหน้าทีที่มีจำกัด ไม่สามารถดำเนินการบริหารจัดการกองทุนให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดได้  แต่อย่างไรก็ตาม ก็จะพยายามดำเนินการเมื่อมีความพร้อมต่อไป

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินงาม ครั้งที่ 25 พฤษภาคม 2564
5
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ฟ้าประทาน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ในการทำความเข้าใจของการพัฒนาโครงการผู้ที่ขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินงาม ซึ่งมีอีกหลายชมรม ที่อยากเสนอ แต่มาติดช่วงโควิด ทางกองทุนฯจะพยายามตามและเรียกประชุมอีกที

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

mkเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานได้เสนอว่า รอสถานการณ์การโควิดซาๆก่อน

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.โกตาบารู ครั้งที่ 13 พฤษภาคม 2564
3
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย farkhung
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้พัฒนาโครงการตามแผนงาน และอนุมัติเงิน ได้เข้าร่วมทำแผนปี2564โดยให้คณะกรรมการทบทวนสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ให้ครอบคลุมทุกประเภท หรือพิจารณาข้อมูลที่ตำบลที่คนในชุมชนมีปัญหาด้านสุขภาพเพื่อนำมาแก้ไข

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อนุมัติตามแผนเงิน และแผนสุขภาพ

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโล๊ะหะลอ ครั้งที่ 13 พฤษภาคม 2564
3
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รูสลาม สาร๊ะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.แนะนำการพัฒนาโครงการในระบบ 2.การปรับปรุงแผนสุขภาพตำบล

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีโครงการส่งมาแล้ว3โครงการ 2.แผนงานและแผนเงินกำลังปรับปรุงเช่นแผนงานโรคติดต่อ

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.บุดี ครั้งที่ 230 เมษายน 2564
30
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย สุชาดา สุวรรณคีรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เจ้าหน้าที่ และผู้บริหารกองทุน เพื่อติดตามการดำเนินการตามแผน และสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบริหารงานกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจสอบเอกสารประกอบการดำเนินการ อาทิเช่น รายงานการประชุม การลงระบบในโปรแกรม พบว่า ยังมีหลายกิจกรรมที่ไม่ได้ดำเนินการให้เป็นไปตามแผน เนื่องจากผู้ขอรับทุนไม่สามารถดำเนินการจัดส่งเอกสารให้กับกองทุนได้ตามกำหนด และการติดตามก็ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากขณะนี้ ต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนในพื้นที่เรื่องการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 จึงได้ขอให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ให้ความสำคัญในการติดตามเอกสาร และลงระบบให้ครบถ้วน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามหลักประกันสุขภาพกำหนดต่อไป

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา ครั้งที่223 เมษายน 2564
23
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การประชุมการพัฒนาโครงการ วันที่21 เมษายน2564 ณ ห้องประชุมสำนักการคลัง เทศบาลนครยะลา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การพิจารณาและพัฒนาโครงการจำนวน 14 โครงการ กิจกรรมบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข 10(1) จำนวน 5 โครงการ กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคของกลุ่มองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่นๆ10(2) จำนวน 8 โครงการ สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ10(5) จำนวน 1 โครงการ ยอดจำนวนงบประมาณ สามล้านสี่แสนหกหมื่นแปดพันเจ็ดร้อยห้าสิบสองบาท

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินงาม ครั้งที่ 121 เมษายน 2564
21
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ฟ้าประทาน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จากการตรวจติดตามเพื่อสนับสนุนการทำแผนสุขภาพ กองทุนสุขภาพ ตำบลเนินงาม พบว่า ได้ดำเนินการประขุมคณะกรรมการกองทุน กำหนดแผนการเงินประจำปีงบประมาณ 2564 ครั้งที่ 1

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการติดตามการดำเนินงานของกองทุนตำบลเนินงาม ได้มีการอนุมัติแผนงการใช้จ่ายเงิน ตามโครงการ 10(1) ผู้ขอรับการสนับสนุน คือ รพ.เนินงาม 10 โครงการ 10(2) ผู้ขอรับการสนับสนุน คือ อสม. 2 โครงการ โรงเรียน 2 โครง 10(3) ผู้ขอรับการสนับสนุน คือ ศพด. 1 โครงการ แต่จากสถานการณ์การเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) การดำเนินงานของกองทุนไม่เป็นไปตามแผนการดำเนินงาน เนื่องจากต้องแก้ไขปัญหาการเกิดโรคระบาด และปัญหาที่พบอีกประการก็คือ ต้องมีการแก้ไข ทำให้เกิดความล่าช้าในการดำเนินโครงการ ส่งผลให้เกิดความล่าช้าในการเบิกจ่ายเงิน การบันทึกข้อมูลในระบบไม่สมบูรณ์ ไม่เป็นปัจจุบัน ยังไม่ส่งรายงานหลายโครงการ/กิจกรรม

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง ครั้งที่ 119 เมษายน 2564
19
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำ ติดตามโครงการ 11 โครงการของ รพสต.เปาะเส้ง และโครงการของโรงเรียน บางกิจกรรมจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนจำนวนกลุ่มเป้าหมาย เช่น โครงการ ป้องกันโรคติดต่อภายในโรงเรียนมี 1 กิจกรรม ให้ความรู้จำเป็นต้องพัฒนาโครงการเพิ่มรายละเอียดกิจกรรมและตัวชี้วัดเป็นต้น นัดหมายเจ้าหน้าที่เข้าไปสอนการคีย์ข้อมูลลงระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โครงการทั้ง 30 โครงการจะมีการพัฒนากลั่นกรองก่อนอนุมัติอีกครั้ง มีการนัดหมายเจ้าหน้าที่ภายในเดือนเมษาในการคีย์ข้อมูลลงระบบได้อย่างสมบูรณ์

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา ครั้งที่118 เมษายน 2564
18
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้พบเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนพบว่ามีโครงการที่ได้รับการพัฒนาจำนวน 13 โครงการ
ในแผนงานสนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข10(1) จำนวน7โครงการ กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น10(2)จำนวน6โครงการ สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติ10(5) และกองทุนยังคงมีเงินเหลืออีกสิบเอ็ดล้านหกแสนหนึ่งหมื่นหกพันบาทถ้วน ทั้งนี้ในวันที่21เมษายน2564 จะมีการประชุมกลั่นกรองโครงการอีก13โครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เป็นไปตามแผนที่วางไว้

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา18 เมษายน 2564
18
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลาได้ให้คำแนะนำบทบาทเรื่องหลักการตามระเบียบกองทุนในเรื่องหน้าที่ของคณะกรรมการและปฏิทินรอบปีของกองทุน สปสช. รวมทั้งประเภทของผู้เข้ารับทุนในปีนี้ เพราะงบกองทุนเทศบาลนครยะลา ยังเหลือ 15ล้านบาท คงต้องเพิ่มแผนงานประชาสัมพันธ์ในการใช้งบประมาณปีนี้โดยเฉพาะเพื่อให้ง่ายควรให้ผู้รับทุนเขียนโครงการผ่านระบบเพราะที่ผ่านมากองทุนเทศบาลนครยะลายังใช้กระดาษและเจ้าหน้าที่ต้องนำมาพิมพ์ให้ ได้เสนอแนะเพิ่มเติมให้คณะกรรมการช่วยกันประชาสัมพันธ์ให้มีโครงการมาขอรับการสนับสนุน เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ เป็นต้น แผนงานบุหรี่ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา แผนงานอุบัติเหตุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา แผนงานสิ่งแวดล้อม ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แผนงานปี64จำนวนร15แผนงาน114โครงการ แผนงานบุหรี่ แผนงานสารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานกิจกรรมทางกาย แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 แผนงานโรคเรื้อรัง แผนงานอุบัติเหตุ แผนงานอนามัยแม่และเด็ก แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว แผนงานผู้สูงอายุ แผนงานสิ่งแวดล้อม แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง แผนงานแรงงานนอกระบบ

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ ครั้งที่ 17 เมษายน 2564
7
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รูสลาม สาร๊ะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.แลกเปลี่ยนชี้แนะการการเพิ่มเติมข้อมูลในแผนจากตัวโครงการและข้อมูลมือ2 2.สนับสนุนการพัฒนาโครงการในระบบ 3.ชี้แนะการทำโครงการที่มีคุณภาพ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการเพิ่มแผนงานในระบบเป็น9แผนงานและมีการเติมข้อมูลในแผน 2.เจ้าหน้าที่กองทุนและผู้รับทุนรู้วิธีการพัฒนาโครงการในระบบ 3.เจ้าหน้าที่กองทุนและผู้รับทุนเข้าใจการทำโครงการที่มีคุณภาพ 4.มีการป้อนข้อมูลเข้าระบบ4 โครงการ

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ครั้งที่ 25 เมษายน 2564
5
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อิสมาแอล สิเดะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มด้วยการพูดคุย นางสาวฮุสนา แลฮา หัวหน้าสำนักปลัด อบต.กรงปินัง ในการทำความเข้าใจของการพัฒนาโครงการผู้ที่ขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ซึ่งหลังจากที่มีการผ่านการพิจารณาโครงการทั้งหมด 17 โครงการที่ยืนเสนอให้คณะกรรมการพิจรณา เมือวันที 18 มีนาคม 64 อีกทั้งได้ให้ทางพี้เลี้ยงผู้รับชอบกองทุนตำบลสุขภาพตำบลกรงปินัง ได้มีการอัพเดตสถานของโครงการในระบบ ที่มีการยืนขอผ่านระบบ 8 โครงการ และ ยื่นที่เป็นเอกสาร 9 โครงการ ในการเพิ่มในระบบ พร้อมให้ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินเพิ่มเติมในระบบกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงในการหนุนและสนับสนุน ทางพี่เลี้ยงได้มีการให้มีการอัพเดตโครงการที่อยู่ในระบบ ให้มีการตอบรับโครงการที่ผู่ที่ส่งโครงการ ทั้งหมด 8 โครงการ ให้อยู่ในสถานะรอพิจารณา ทั้งหมด ซึ่ง โครงการทั้งหมดผ่านการอนุมัติ จากคณะกรรมการ ทั้งหมด 17 โครงการ
(1)แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564 จำนวน 2 โครงการ (2)แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564 จำนวน 3 โครงการ (3)แผนงานสิ่งแวดล้อม ปี 2564 จำนวน - โครงการ (4)แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 จำนวน 4 โครงการ (5)แผนงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2564 จำนวน 2 โครงการ (6)แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564 จำนวน 3 โครงการ และพี่เลี้ยงได้ให้ข้อเสนอแนะ ช่วยเพิ่มแผนสุขภาพตำบล 1.แผนงานด้านผู้สูงอายุ 2.แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 3.แผนงานคนพิการ เนื่องจากมีโครงการผ่านการพิจารณาแต่ไม่มีในแผนงาน

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินงาม1 เมษายน 2564
1
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ฟ้าประทาน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เริ่มกระบวนการโดยมีการแนะนำตัวและทำความรู้จักในส่วนของพี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดแและเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนสุขภาพตำบลเนินงาม 2.จากนั้นทางพี่เลี้ยงได้มีให้ทางเจ้าหน้าทีผู้หน้ารับผิดชอบกองทุนได้มีการอธิบายถึงสถานการณ์ของกองทุนสุขภาพตำบลเนินงาม ในรายละเอียดของกระบวนการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา ในการประชุมคณะทำงาน และกระบวนการจัดแผนสุขภาพตำบล
3.ทางพี่เลี้ยงได้มีการแนะนำและดำเนินการเพิ่มเติมข้อมูลในระบบ และชี้แนะในการดำเนินงานอีกทั้งกระบวนการสนับสนุนในปีนี้ พร้อมให้แนวทางของการสนับสนุนปีหน้าที่จะมีเกณฑ์ของการประเมินในการสนับสนุนเพิ่มเติมในงบประมาณทางสปสช.เขต.12
4.วางแผนการดำเนินงานในการขับเคลื่อนกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ในเรื่องแผนสุขภาพตำบลทางกองทุนได้มีการดำเนินการระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพืนที ร่วมกันจัดทำแผนสุขภาพมาเรียบร้อยแล้วพร้อมมีเอกสารแผนสุขภาพอยู่ที่กองทุนแต่ไม่ได้ดำเนินการเพิ่มเกสารในระบบ ซึ่งจะทางเจ้าหน้าได้ดำเนินเอกสารแยกออกมานอกจากในระบบ 2.ในส่วนสถานการณ์ในการอนุมัติงบประมาณโครงการยังไม่มีการดำเนินการแต่ได้มีการวางปฎิทินของการประชุมคณะกรรมการกองทุนไว้ในเดือนมีนาคม 2564 แล้ว ผู้ขอรับทุนสนับสนุนจะขอพัฒนาโครงการในระบบ ก่อนโครงการจะผ่านสู่คณะกรรมการกองทุนพิจารณา 3.มีอนุมัติแผนสุขภาพทั้งหมด 9 แผน

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโล๊ะหะลอ31 มีนาคม 2564
31
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รูสลาม สาร๊ะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำระเบียบของกองทุน แนะนำการจัดทำแผนงาน แผนเงิน ของกองทุนสุขภาพตำบลตะโละหะลอ แนะนำการจัดทำและขอโครงการในระบบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เจ้าหน้าที่กองทุนและกรรมการเข้าใจการจัดทำแผนเงินและแผนงาน 2.จนท.กองทุนทดลองคียแผนโรคติดต่อ1แผน 2.เจ้าหน้าที่กองทุนเข้าใจการใช้ระบบมากขึ้น

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงย ครั้งที่ 129 มีนาคม 2564
29
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ฟ้าประทาน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้พัฒนาโครงการตามแผนงาน และอนุมัติเงิน ได้เข้าร่วมทำแผนปี2564โดยให้คณะกรรมการทบทวนสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ให้ครอบคลุมทุกประเภท หรือพิจารณาข้อมูลที่ตำบลที่คนในชุมชนมีปัญหาด้านสุขภาพเพื่อนำมาแก้ไข

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อนุมัติตามแผนที่นำเสนอ

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ครั้งที่ 226 มีนาคม 2564
26
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย แวปาตีเมาะ เจะปูเตะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มจากที่พี้เลี้ยงในการเข้าพบเจ้าหน้าทีรับชอบกองทุนเริ่มด้วยการพูดคุย ในการทำความเข้าใจของการพัฒนาโครงการ ผู้ที่ขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชันซึ่งหลังจากที่มีการผ่านการพิจารณาโครงการทั้งหมดที่ผ่านมา  และยังโครงการที่ยืนเสนอให้คณะกรรมการพิจรณา อีก 4 โครงการ ในวันนี้ ทั้งนี้ทางพี้เลี้ยงได้แนะนำให้มีการเพิ่มรายละเอียดของแผนงานที่ยังมีขาดเรื่องสถานการณ์ปัญหาของแต่ละแผนงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ซึ่ง โครงการทั้งหมดผ่านการอนุมัติ จากคณะกรรมการ ทั้งหมด 4 โครงการ
1.สูนัตหมู่ ประจำปี 2564 (02-30) : กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชัน 2.ส่งเสริมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นให้ถูกต้องตามมาตรฐานเพื่อสุขภาพอนามัยที่ดีของผู้เรียน (02-29) : โรงเรียนผดุงศีลวิทยา 3.ป้องกันโรคติดต่อและส่งเสริมสุขภาพฟันเด็กปฐมวัย (03-12) : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารุลมะรูฟ 4.ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย (03-11) : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะบิงติงงี

โดยภาพรวมของการพัฒนาโครงการ ในส่วนกองทุนตำบลตลิ่งชัน การใช้งบประมาณหากเทียบสัดส่วนกับเงินที่มี 90 % และมีการงบประมาณทั้งหมด 2,440,672 บาท โครงการที่ยืนเข้ามาทั้งหมด 63 โครงการ ตามแผนงานดังนี้ (1) แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564 จำนวน 2 โครงการ (2)แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564 จำนวน 2 โครงการ (3)แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564 จำนวน 9 โครงการ (4)แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 จำนวน 8 โครงการ (5) แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 ปี 2564 จำนวน 6 โครงการ (6) แผนงานสารเสพติด ปี 2564 จำนวน 1 โครงการ (7) แผนงานบุหรี่ ปี 2564 จำนวน 1 โครงการ (8) แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564 จำนวน 2 โครงการ (9) แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564 จำนวน 32 โครงการ จากการให้ข้อเสนอแนะกับเจ้าหน้าทีกองทุนตำบลในการให้ทางผู้ขอรับทุน ในมุมมองเห็นว่า ลำบาก และยาก จึงขอทำด้วยตนเองในการใส่โครงการในระบบ

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล ทต.โกตาบารู24 มีนาคม 2564
24
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย farkhung
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

โดยการเริ่มกระบวนการให้ทางเจ้าหน้าทีผู้รับผิดชอบกองทุนตำบลเทศบาลตำบลโกตาบารู จากนั้นทางพี่เลี้ยงกองทุน จังหวัดยะลาได้มีการทบทวนในเรื่องหลักการ ตามระเบียนของกองทุน ว่าด้วยเรื่อง บทบาทหน้าทีของกองเลขา และปฎิทินรอบปีของกองทุน สปสช.และ ในเรื่องประเภทของผู้ขอรับทุน และแจ้งการทำแผนการเงินและแผนสุขภาพประจำปี2564 ต่อด้วยระเบียบของการใช้งบประมาณ จากนั้นดูเอกสารการดำเนินงานที่ผ่านมา และอธิบาย เรื่องรายละเอียดในการเขียนขอเสนอโครงการผ่านระบบกองทุน และแนะนำให้ผู้รับผิดชอบงานกองทุนทำโครงการพัฒนาศักยภาพให้แก่กรรมการและผู้ขอรับทุนสามารถเขียนโครงการผ่านระบบได้ วางแผนการขับเคลื่อนงานกองทุนฯ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯรับทราบ และจะพัฒนาการเขียนโครงการวางแผนการใช้งบที่เหลือตามเป้าหมายที่สปสช.กำหนด

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงย18 มีนาคม 2564
18
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ฟ้าประทาน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เริ่มกระบวนการโดยมีการแนะนำตัวและทำความรู้จักในส่วนของพี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดแและเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนสุขภาพตำบลบาโงย 2.จากนั้นทางพี่เลี้ยงได้มีให้ทางเจ้าหน้าทีผู้หน้ารับผิดชอบกองทุนได้มีการอธิบายถึงสถานการณ์ของกองทุนสุขภาพตำบลบาโงย ในรายละเอียดของกระบวนการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา ในการประชุมคณะทำงาน และกระบวนการจัดแผนสุขภาพตำบล
3.ทางพี่เลี้ยงได้มีการแนะนำและดำเนินการเพิ่มเติมข้อมูลในระบบ และชี้แนะในการดำเนินงานอีกทั้งกระบวนการสนับสนุนในปีนี้ พร้อมให้แนวทางของการสนับสนุนปีหน้าที่จะมีเกณฑ์ของการประเมินในการสนับสนุนเพิ่มเติมในงบประมาณทางสปสช.เขต.12
4.วางแผนการดำเนินงานในการขับเคลื่อนกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ในเรื่องแผนสุขภาพตำบลทางกองทุนได้มีการดำเนินการระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพืนที ร่วมกันจัดทำแผนสุขภาพมาเรียบร้อยแล้วพร้อมมีเอกสารแผนสุขภาพอยู่ที่กองทุนแต่ไม่ได้ดำเนินการเพิ่มเกสารในระบบ ซึ่งจะทางเจ้าหน้าได้ดำเนินเอกสารแยกออกมานอกจากในระบบ 2.ในส่วนสถานการณ์ในการอนุมัติงบประมาณโครงการยังไม่มีการดำเนินการแต่ได้มีการวางปฎิทินของการประชุมคณะกรรมการกองทุนไว้ในเดือนมีนาคม 2564 แล้ว แต่ส่วนใหญ่ผู้ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนส่งโครงการในรูปแบบเอกสาร ไม่ได้ลงในระบบ และเจ้าหน้าทีผู้รับชอบกองทุนจะเป็นคนลงข้อมูลโครงการอีกครั้ง ซึ่งในการลงครั้งนี้ ทางผู้รับผิดชอบกองทุนตำบลได้ขอปรับแนวทางใหม่ โดยจะมีการให้ผู้ขอรับทุนสนับสนุนฝึกการพัฒนาโครงการในระบบ ก่อนโครงการจะผ่านสู่คณะกรรมการกองทุนพิจารณา
3.เจ้าหน้าทีกองทุน อบต.ได้มีการปรับแนวทางการปฎิบัติเดิมผู้ขอรับการสนับสนุนส่งเอกสารมาเป็นระบบออนไลน และปรับแนวทางของการบริหารจัดการกองทุน ที่จะรับโครงการมาพิจารณาเป็นรอบไตรมาตร

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ครั้งที่ 117 มีนาคม 2564
17
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้ลงติดตามความก้าวหน้าขอโครงการแผนเพื่อการพัฒนาให้มีความสมบุรณ์ในรายละเอียดมากขึ้น มีการแนะนำให้ในการประชุมพิจารณาโครงการทบทวนคณะกรรมการกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้โครงการที่สอดคล้องกับแผนที่ตั้งไว้ดังนี้ โครงการพัฒนาการดำเนินอนามัยเด็กมาตราบาน โครงการส่งเสริมรับวัคซีนโดยภาคีเครือข่าย โครงการคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูง โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โครงการเสริมสร้างไอคิว อีคิว ในเด็กวัยเรียน สำหรับผู้ปกครอง โครงการการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กผอม อายุ 1-4ปีโดยผู้ปกครองมีส่วนร่วม โครงการพัฒนาการดำเนินอนามัยเด็กตามมาตราฐาน โครงการส่งเสริมรับวัคซีนโดยภาคีเครือข่าย โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กผอม1-4ปี ดดยผู้ปกครองมีส่วนร่วม โครงการลูกน้อสุขภาพดี โภชนาการ พัฒนาการตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์ โครงการแก้ไขปัญหาแม่และเด็ก โครงการอบรมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โครงการอบรมอย.น้อยในโรงเรียน โครงกรดูแลและป้องกันสุขภาพช่องปากทันตสุขภาพในเด็กนักเรียน โครงการคุ้มครองผู้บริโภค โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโยแมลง ไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ดครงการตรวจคัดกรองและแก้ไข้ความผิดปกติการมองเห็นของนักเรียนสำหรับนักเรียนในโรงเรียน ตชด.นิคมพิทักษ์ราษฎร์ โครงการกำจัดเหาสำหรับนักเรียนในโรงเรียน ตชด.นิคมพิทักษ์ราษฎร์ โครงการดูแลป้องกันสุขภาพช่องปากทันตสุขภาพในเด็ก

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ครั้งที่ 110 มีนาคม 2564
10
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อิสมาแอล สิเดะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

โดยการเริ่มกระบวนการให้ทางเจ้าหน้าทีผู้รับผิดชอบกองทุนตำบลกรงปินังทักทายผู้เข้าร่วม ผู้ขอรับทุนในการพัฒนาโครงการ จากนั้นทางพี่เลี้ยงกองทุน จังหวัดยะลาได้มีการทบทวนในเรื่องหลักการ ตามระเบียนของกองทุน ว่าด้วยเรื่อง บทบาทหน้าทีของกองเลขา และปฎิทินรอบปีของกองทุน สปสช.และ ในเรื่องประเภทของผู้ขอรับทุน อีกทั้งเรื่องสถานการณ์ของอำเภอกรงปินัง สำหรับปีที่ผ่านมา ต่อด้วยระเบียบของการใช้งบประมาณ จากนั้นให้ผู้รับทุนได้ทราบแนวทางของการเขียนโครงการ ผ่านระบบ และแนวทางการการเขียนโครงการ
จากนั้นได้อธิบายเรื่องรายละเอียดในการเขียนขอเสนอโครงการผ่านระบบกองทุน โดยพร้อมการลงมือฝึกการเขียนโครงการผ่านระบบ จนสามารถส่งโครงการให้เจ้าทีรับผิดชอบกองทุน อบต.กรงปินังรับโครงการผ่านระบบได้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ในการกระบวนการฝึการการเขียนโครงการผ่านระบบทำให้ กลุ่มผู้ขอรับทุน ได้ส่งโครงการให้เจ้าหน้ากองทุนอบต.กรงปินังรับโครงการผ่านระบบ โดยมีโครงการ 6 กลุ่มองค์กรในเพื้นทีเช่น ทีม รพ.กรงปินัง
กลุ่มอสม. รพ.สต.อุเผะ ชมรมตาดีกาตำบลกรงปินัง งานสาธารณสุข อบต.กรงปินัง และกองสวัสดิการสังคม อบต.กรงปินัง เข้าสู่รอบของการพิจารณาโครงการเดือนนี้ได้

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ยะหา ครั้งที่ 18 มีนาคม 2564
8
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Nardin
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จากการติดตามสนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนฯ ท.ยะหา มีโครงการระหว่างการพัฒนาจำนวน 14 โครงการ โดยมีหน่วยรับทุนจำนวน 3 หน่วย ประกอบด้วย       1.กองสาธารณะสุข ท.ยะหา จำนวนทั้งสิ้น 8 โครงการโดยมี 10 (1) จำนวน 6 โครงการ 10(4) 1 โครงการ และ 10 (5)  1 โครงการ
      2.คลีนิกหมอครอบครัว โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ยะหา (10) 1  จำนวน 3 โครงการ       3.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ท.ยะหา 10 (3)  จำนวน  3  โครงการ โดยใช้งบประมาณ 14 โครงการเป็นเงิน 412,685.-  บาท จาการสอบถามพูดคุยเจ้าหน้าที่กองทุนและผู้ดูแลระบบ พบว่าการเขียนโครงการยังทำในรูปแบบเอกสารก่อนแล้วมาบันทึกในระบบ โดยเจ้าหน้าที่กองทุน มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนโดยเป็นห่วงในเรื่องการเข้าระบบของหน่วยรับทุนจะเข้าถึงข้อมูลด้านอื่น ๆของผู้ดูแล ทั้งนี้ได้แนะนำการออกเลขรหัสให้หน่วยรับทุน และให้คำแนะนำในการเขียนโครงการผ่านระบบโดยตรงของหน่วยรับทุนอื่น ๆ ส่วนหน่วยรับทุนอื่นๆ เช่น 10(2) จากการพูดคุยสอบถาม เจ้าหน้าที่กองทุนแจ้งว่าได้เคยประชาสัมพันธ์การเข้าถึงกองทุนฯ ให้กลุ่มอื่นๆเช่น ตาดีกา แต่ไม่ได้มีการเขียนเสนอเข้ามา ตลอดจนข้อกังวลในการดำเนินโครงการใสส่วนของการจัดทำเอกสารของหน่วยรับทุนที่เป็นหน่วยกลุ่มคนอีกทางหนึ่งด้วย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีโครงการระหว่างการพัฒนาและจะเข้ากระบวนการพิจารณาของคณะกรรมการจำนวน 14 โครงการ และเจ้าหน้าที่กองทุนรับทราบแนวทางการเขียนขอเสนอโครงการ การพัฒนาโครงการ

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง8 มีนาคม 2564
8
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อิสมาแอล สิเดะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เริ่มกระบวนการโดยมีการแนะนำตัวและทำความรู้จักในส่วนของพี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดแและเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนสุขภาพตำบลกรงปินัง
2.จากนั้นทางพี่เลี้ยงได้มีให้ทางเจ้าหน้าทีผู้หน้ารับผิดชอบกองทุนได้มีการอธิบายถึงสถานการณ์ของกองทุนสุขภาพตำบลกรงปินัง ในรายละเอียดของกระบวนการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา ในการประชุมคณะทำงาน และกระบวนการจัดแผนสุขภาพตำบล
3.ทางพี่เลี้ยงได้มีการแนะนำและดำเนินการเพิ่มเติมข้อมูลในระบบ และชี้แนะในการดำเนินงานอีกทั้งกระบวนการสนับสนุนในปีนี้ พร้อมให้แนวทางของการสนับสนุนปีหน้าที่จะมีเกณฑ์ของการประเมินในการสนับสนุนเพิ่มเติมในงบประมาณทางสปสช.เขต.12
4.วางแผนการดำเนินงานในการขับเคลื่อนกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ในเรื่องแผนสุขภาพตำบลทางกองทุนได้มีการดำเนินการระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพืนที ร่วมกันจัดทำแผนสุขภาพมาเรียบร้อยแล้วพร้อมมีเอกสารแผนสุขภาพอยู่ที่กองทุนแต่ไม่ได้ดำเนินการเพิ่มเอกสารในระบบ ซึ่งทางเจ้าหน้าได้ดำเนินเอกสารแยกออกมานอกจากในระบบ 2.ในส่วนสถานการณ์ในการอนุมัติงบประมาณโครงการยังไม่มีการดำเนินการแต่ได้มีการวางปฎิทินของการประชุมคณะกรรมการกองทุนไว้ในเดือนมีนาคม 2564 แล้ว แต่ส่วนใหญ่ผู้ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนส่งโครงการในรูปแบบเอกสาร ไม่ได้ลงในระบบ และเจ้าหน้าทีผู้รับชอบกองทุนจะเป็นคนลงข้อมูลโครงการอีกครั้ง ซึ่งในการลงครั้งนี้ ทางผู้รับผิดชอบกองทุนตำบลได้ขอปรับแนวทางใหม่ โดยจะมีการให้ผู้ขอรับทุนสนับสนุนฝึกการพัฒนาโครงการในระบบ ก่อนโครงการจะผ่านสู่คณะกรรมการกองทุนพิจารณา
3.เจ้าหน้าทีกองทุน อบต.ได้มีการปรับแนวทางการปฎิบัติเดิมผู้ขอรับการสนับสนุนส่งเอกสารมาเป็นระบบออนไลน และปรับแนวทางของการบริหารจัดการกองทุน ที่จะรับโครงการมาพิจารณาเป็นรอบไตรมาตร 4.ในการใส่ข้อมูลในระบบทางพี้เลี้ยงได้มีการลงข้อมูลแผนสุขภาพกองทุนในระบบ ซึ่งมี ดังนี้ (1)แผนงานบุหรี่ ปี 2564 (2)แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564 (3)แผนงานอนามัยแม่และเด็ก (4)แผนงานโรคเรื้อรัง (5)แผนงานสิ่งแวดล้อม (6)แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด (7) แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง (8)แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ1 มีนาคม 2564
1
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รูสลาม สาร๊ะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ปลัดรักาาการนายกแนะนำทีมงาน 1.บอกสถาณการณ์กองทุนแนะนำระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2.แนะนำการลงรายละเอียดแผนงาน 3.การทำแผนเงิน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เจ้าหน้าที่กองทุนและกรรมการเข้าใจระเบียบมากขึ้น 2.เกิดแผนสุขภาพ6แผน ประกอบด้วยแผนบริหารจัดการกองทุน แผนโรคระบาด แผนเด็กและเยาวชน แผนแม่และเด็ก แผนกิจกรรมทางกาย 3.เกิดแผนเงิน1แผนุ

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ยะหา23 กุมภาพันธ์ 2564
23
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Nardin
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดเริ่มกระบวนการให้ทางเจ้าหน้าทีผู้รับผิดชอบกองทุนตำบลเทศบาลตำบลยะหา ได้มีการทบทวนในเรื่องหลักการ ตามระเบียนของกองทุน ว่าด้วยเรื่อง บทบาทหน้าทีของกองเลขา และปฎิทินรอบปีของกองทุน สปสช.และ ในเรื่องประเภทของผู้ขอรับทุน และแจ้งการทำแผนการเงินและแผนสุขภาพประจำปี2564 ต่อด้วยระเบียบของการใช้งบประมาณ  โดยเน้นย้ำการให้ความสำคัญในการจัดทำแผนสุขภาพเพื่อรองรับการเขียนโครงการของหน่วยงานผู้ขอรับทุนในกรอบแผนที่กองทุนสุขภาพตำบลกำหนด และกระบวนการที่จะส่งเสริมให้หน่วยงาน องค์กร หรือกลุ่มคน ได้เข้าถึงข้อมูลและวิธีการในการขอรับทุนผ่านระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตลอดจนการให้คำแนะนำในการจัดหาข้อมูลประกอบการทำแผนจากหน่วยงานสุขภาพหรืออื่นใดที่จะสนับสนุนข้อมูลประกอบการทำแผนและสาธิตวิธีการบันทึกข้อมูลในแผน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กองทุนฯ ท.ยะหา มีแผนสุขภาพจำนวน 10 และแผนบริหารกองทุนจำนวน 1 แผน รวม 11 แผน โดยแนะนำให้ดำเนินการบันทึกเพิ่มเติมข้อมูลต่างๆในแผนและผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯรับทราบและเห็นความจำเป็นในการจัดทำแผนงานเพื่อรองรับการเขียนโครงการของหน่วยรับทุนให้สอดคล้องกับแผนสุขภาพ และการรองรับการตรวจสอบโครงการกิจกรรมที่ดำเนินการของหน่วยตรวจสอบว่าเป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้หรือไม่

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง23 กุมภาพันธ์ 2564
23
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลาได้ให้คำแนะนำบทบาทเรื่องหลักการตามระเบียบกองทุนในเรื่องหน้าที่ของคณะกรรมการและปฏิทินรอบปีของกองทุน สปสช. รวมทั้งประเภทของผู้เข้ารับทุนในปีนี้ รวมทั้งการสอนวิธืการคีย์ข้อมูลลงระบบ(เจ้าหน้าที่ใหม่)
ควรจะกระจายหน่วยงานที่รับผิดชอบเพราะหน่วยงาน รพสต.เปาะเส้ง 11 โครงการ ใน จำนวน 30 โครงการ อาจต้องดูว่าซ้ำซ้อนกับงาน รพสต.เปาะเส้งหรือไหม แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง แผนงานสารเสพติด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง แผนงานบุหรี่ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง แผนงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง แผนงานคนพิการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แผนงานจัดบริการสาธารณสุขหน่วยบริการสถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข 10(1) จำนวน 11 โครงการ กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น10(2) จำนวน 18โครงการ กิจกรรมของศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ10(3) จำนวน 1 โครงการ

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.บุดี ครั้งที่ 118 กุมภาพันธ์ 2564
18
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย สุชาดา สุวรรณคีรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ลงพบปะเจ้าหน้าทีกองทุน 2.ให้ข้อเสนอในการดำเนินงานกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการติดตามแผนการดำเนินงานของกองทุน พบว่า ได้กำหนดแผนการดำเนินงานทั้งหมด 11 แผนงาน รวมทั้งแผนงานบริหารจัดการ แต่จากการตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินตามกิจกรรมโครงการตามแผนงานที่กำหนด ปรากฏว่า มีหลายกิจกรรม/โครงการ ที่ยังไม่ได้ดำเนินการ บางกิจกรรมดำเนินการแล้วแต่ยังไม่ส่งเอกสาร และบางกิจกรรมยังอยู่ระหว่างดำเนินการ ในการนี้ได้กำชับเจ้าหน้าที่และผู้รับผิดชอบ ดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบฯ และลงระบบให้เรียบร้อยต่อไป

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ครั้งที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564
9
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย แวปาตีเมาะ เจะปูเตะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

โดยการเริ่มกระบวนการให้ทางเจ้าหน้าทีผู้รับผิดชอบกองทุนตำบลทักทายผู้เข้าร่วมและ ผู้ขอรับทุนในการพัฒนาโครงการ และคณะกรรมกองทุน จากนั้นทางพี่เลี้ยงกองทุน จังหวัดยะลาได้มีการทบทวนในเรื่องหลักการ ตามระเบียนของกองทุน ว่าด้วยเรื่อง บทบาทหน้าทีของกองเลขา และปฎิทินรอบปีของกองทุน สปสช.และ ในเรื่องประเภทของผู้ขอรับทุน อีกทั้งเรื่องสถานการณ์ของอำเภอบันนังสตาสำหรับปีที่ผ่านมา ต่อด้วยระเบียบของการใช้งบประมาณ จากนั้นให้ผู้รับทุนได้ทราบแนวทางของการเขียนโครงการ ผ่านระบบ และแนวทางการสนับสนุนตามหลักเกณฑ์ของกองทุน จากนั้นได้อธิบายเรื่องรายละเอียดในการเขียนขอเสนอโครงการผ่านระบบกองทุน และคณะกรรมการกองทุนได้มีอ่านโครงการที่ทางกลุ่มเป้าหมายส่งโครงการเข้ามา และอนุมัติโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ส่วนรอบของการพิจารณาโครงการโดยคณะกรรมการกองทุน ได้มีการพิจารณาทั้งหมด 20 โครงการ จาก ประเภท 1 1.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชัน :  1 โครงการ ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น 1.โรงเรียนบ้านตะบิงติงงีสามัคคี :1 โครงการ 2.โรงเรียนบ้านคีรีลาดพัฒนา : 3 โครงการ 3.โรงเรียนนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ 6  : 2 โครงการ 4.โรงเรียนนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ 10 :  1โครงการ 5.โรงเรียนนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ 1 : 2 โครงการ 6.โรงเรียนนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ 11 : 1 โครงการ 7.โรงเรียนนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ 5 : 1 โครงการ
8.โรงเรียนบ้านทรายแก้ว  : 2 โครงการ 9.โรงเรียนบ้านกือลอง : 1 โครงการ 10.โรงเรียนบ้านตะบิงติงงี  : 1 โครงการ 11.ชมรมฟุตบอลตลิ่งชัน : 1 โครงการ ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ 1.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคีรีลาด  1โครงการ 2.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตลาดนิคม 1โครงการ 3.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพับผ้า (ตาเอียด) 1 โครงการ 4.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกือลอง 1โครงการ และพี่เลี้ยงได้ให้ข้อเสนอแนะ ช่วยเพิ่มแผนสุขภาพตำบลในเรื่องของ แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564  เนื่องจากมีโครงการที่ผ่านการพิจารณาอนุมัติแต่ไม่มีแผนจึงให้ทางเจ้าหน้าทีรับผิดชอบกองทุนตำบลตลิ่งชัน เพิ่มแผนงานดังกล่าวในระบบ

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรม ครั้งที่ 21 กุมภาพันธ์ 2564
1
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย พี่ดะห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มด้วยการพูดคุย ผู้รับผิดชอบกองทุน ในการทำความเข้าใจของการพัฒนาโครงการผู้ที่ขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรม ซึ่งหลังจากที่มีการผ่านการพิจารณาโครงการและอนุมัติ เบิกจ่ายเงินแล้ว ทั้งหมด 22 โครงการ อีกทั้งได้ให้ทางพี้เลี้ยงผู้รับชอบกองทุนตำบลสุขภาพตำบลยะรม ได้มีการอัพเดตสถานของโครงการในระบบ ที่มีการยืนขอผ่านระบบ 2 โครงการ และ ยื่นที่เป็นเอกสาร 20 โครงการ ในการเพิ่มในระบบ พร้อมให้ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินเพิ่มเติมในระบบกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงในการหนุนและสนับสนุน ทางพี่เลี้ยงได้มีการให้มีการอัพเดตโครงการที่อยู่ในระบบ ให้มีการตอบรับโครงการที่ผู้ที่ส่งโครงการ การพิจารณาโครงการและอนุมัติ เบิกจ่ายเงินแล้ว ทั้งหมด 22 โครงการ
(1) แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564 จำนวน 2 โครงการ
(2)แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564 จำนวน 1 โครงการ
(3)แผนงานสิ่งแวดล้อม ปี 2564 จำนวน 1 โครงการ
(4)แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 จำนวน 1 โครงการ
(5)แผนงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2564 จำนวน 2 โครงการ
(6)แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564 จำนวน 3โครงการ (7)แผนงานด้านผู้สูงอายุ ปี 2564 จำนวน 2 โครงการ
(8) แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 ปี 2564 จำนวน 4 โครงการ
(9) แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564 จำนวน 2 โครงการ

ประชุมพี่เลี้ยง ครั้งที่ 230 มกราคม 2564
30
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย อิสมาแอล สิเดะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.นัดหมายคณะทีมพี่เลี้ยง ในไลน
2.ประสานงานเรื่องสถานที 3.จัดประชุม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รายงานการประชุมคณะพี่เลี้ยงจังหวัดยะลา ครั้งที่ 2 /2563 เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2564

ณ ร้านกาแฟอเมซอนผังเมือง 4 อ.เมือง จ.ยะลา

ผู้มาประชุม 1. นางสาวมาเรียม ชัยสันทนะ ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 2. นางเพ็นศรี มานันตพงค์ ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 3. นายนาร์ดิน เทษา ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 4. นายรุสลัม ดาราแม็ง ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 5. นายอิสมาแอล สิเดะ ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 6. นางปารีดะ แก้วกรด ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 7. นางสุชาดา สุวรรณคีรี ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 8. นางสาวฟาฎีละห์ บินติอิสมาอีล ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 9. นายวัยโชติ กาญจนาภักดี ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 10. รูสลาม สาเร๊ะ ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา

ผู้ไม่มาประชุม 1. นายอะห์หมัดกัสดาฟี มะฆุนิ ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 2. นางสาวแวปาตีเมาะ เจะปูเตะ ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา
ผู้เข้าร่วมประชุม 3. นางสาวโซเฟีย ลือแบปัตตานี ตำแหน่ง เจ้าหน้าที สมาคมฟ้าใส

เริ่มประชุมเวลา 09.30 น.
คุณอิสมาแอล กล่าวเปิดประชุมพร้อมให้ทางผู้เข้าร่วมได้แนะนำตัวและมาจากที่ไหน จากนั้นดำเนินการตามระเบียบวาระการประชุมดังต่อไปนี้ วาระที่ 1.  เรื่องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ   โดย อิสมาแอล สิเดะ ได้แจ้งรายละเอียดและอธิบายให้ที่ประชุมทราบว่า 1. เรื่องสัญญาโครงการของพี่เลี้ยง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1.1. การโอนงวดเงิน 15 /75/15 เป็น 3 งวดงาน เป็นเงิน 93,500 บาท
1.2. การบันทึกรายละเอียด กิจกรรมของการ coaching (16 กองทุน) และAudit (19 กองทุน) ในระบบให้แต่ละคนลงกิจกรรมดังนี้  สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล............. โดย ทีม............(4 กิจกรรม) (1. ) สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล……… (2. )สนับสนุนการพัฒนาโครงการ ครั้งที่ 1 (3.) สนับสนุนการพัฒนาโครงการ ครั้งที่ 3 (4.) สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ  การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุนสุขภาพตำบล (Audit) โดยทีม.................. (1.)การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit) อบต...................

  1. เรื่องการดำเนินงานร่วมกับภาคี ของหน่วยงาน สปสช.เขต.12
    ซึ่งการดำเนินงานที่ผ่านมา ส่วนใหญ่ของการลงคัดเลือกพี่เลี้ยงจังหวัดลงไปช่วย บางครั้งตามวาระโอกาส ที่ร่วมงานกับภาคีเครื่อข่าย เช่น งานร่วมมือกับ สจรส. เครื่อข่ายมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นต้น
  2. หนังสื่อแต่งตั้ง คณะทำงาน 3 กองทุน ที ค.18/2563 ตามที่มีหนังสื่อคำสั่งการแต่งตั้งจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที ค.18/2563 เรื่องแต่งตั้งคณะทำงาน 3 กองทุน เพื่อสนับสนุนกองทุนสุขภาพท้องถิ่น /กองทุน LTC / กองทุนฟื้นฟูสมรรถาพคนพิการระดับจังหวัด สั่ง ณ วันที 30 พฤศจิกายน 2563 โดยมีรายชื่อทั้งหมด 12 คน ดังนี้ (1) นายอิสมาแอล สิเดะ ประธานคณะทำงาน (2) นางสุชาดา สุวรรณคีรี คณะทำงาน (3) นายนาร์ดิน เทษา คณะทำงาน (4) นางเพ็นศรี มานันตพงศ์ คณะทำงาน (5) นางสาวปาตีเมาะ เจะปูเตะ คณะทำงาน (6) นางปารีดะ แก้วกรด คณะทำงาน (7) นายวัยโชติ กาญจภักดิ์ คณะทำงาน (8) นายรูสลัน ดาราแม็ง คณะทำงาน (9) นายรูสลาม สาระ คณะทำงาน (10) นางสาวฟาฎีละห์ บินติอิสมาอีล คณะทำงาน (11) นายอะห์หมัดกัสดาฟี มะฆุนิ คณะทำงาน (12) นางสาวมาเรียม ชัยสันทนะ เลขานุการคณะทำงาน

  3. เรื่องบทบาทพีเลี้ยงกองทุนจังหวัด และกลไกในการดำเนินงานในปีงบ 64 มีขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้ (1) พัฒนาทีมพี่เลี้ยง เพื่อใช้ในการทำแผน การพัฒนาโครงการ การติดตามประเมินผล ตามแต่ละประเด็นสุขภาพ (2) พี่เลี้ยงระดับพื้นที เพื่อไปพัมนาศักยภาพผู้รับผิดชอบกองทุน กรรมการกองทุน ผู้เสนอ/รับทุนการจัดทำแผนสุขภาพและโครงการ (3) การพัมนาแผนสุขภาพแต่ละประเด็นสุขภาพในแต่ละกองทุนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบลโดยการช่วยเหลือของพี่เลี้ยง (4) พัฒนาโครงการตามแผนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล โดยการช่วยเหลือของพี่เลี้ยง (5) การติดตาม ประเมินผล หลังโครงการได้รับการสนับสนุน เพื่อทำรายงานผลโครงการ รายงานการเงิน การสังเคราะห์ผล

  ที่ประชุมรับทราบ

วาระที่ 2.  เรื่องรับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ 1/2563
มติ รับรองรายงาน
วาระที่ 3.  เรื่องสืบเนื่อง (ไม่มี)
วาระที่ 4.  เรื่องเพื่อทราบ
4.1 เรื่องการสนับสนุนเพิ่มเติม งบประมาณ ในกองทุน ปี 65 เขต12

4.2 เรื่องช่วงเวลาของการดำเนินงานของพี่เลี้ยงจังหวัด ปี 64 ที่ กิจกรรม ช่วงเวลา 1. ลงสนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล พ.ย.- ก.ค.63 - สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนตำบบล พ.ย.- ธ.ค.63 - พัฒนาโครงการของกองทุนครั้งที่ 1 - พัฒนาโครงการของกองทุนครั้งที่ 2 ม.ค. – มี.ค.64 - ประเมินโครงการ/ติตามกองทุน มิ.ย. – ก.ค.64 2. ลงติตามกองทุนสุขภาพตำบล (Audit) ก.ค. – ส.ค.64


วาระที่ 5. เรื่องเพื่อพิจารณา   5.1.เรื่องการแบ่งเขตความรับผิดชอบในกองทุนจาก coaching 16 พื้นที และการติดตามกองทุนสุขภาพตำบล( Audit) 19 พื้นที โดยการแบ่งทีมจังหวัดยะลา ออกมา 3 ทีม โดยมี 1. ทีมอำเภอรามัน (นายรูสลาม/นายรูสลัน/น.ส.ฟาฎีละห์/กัสดาฟี) a. พื้นที coaching 6 กองทุน
b. พื้นที ติดตาม Audit 5 กองทุน
2. ทีมเมืองยะลา (สุชาดา / มาเรียม /เพ็ญศรี / นาร์ดิน) a. พื้นที coaching 6 กองทุน b. พื้นที ติดตาม Audit 6 กองทุน
3. ทีมเก็บตก (อิสมาแอล /แวปาตีเมาะ /ปารีดะ/วัยโชติ) a. พื้นที coaching 4 กองทุน b. พื้นที ติดตาม Audit 8 กองทุน
(1) โดยพื้นทีกองทุนสุขภาพตำบล coaching 16 พื้นทีจังหวัดยะลา โดยมีการเพิ่มผู้รับผิดชอบหลัก ลำดับ พื้นที่ ผู้รับผิดชอบ อำเภอ พี่เลี้ยง 1. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร วัยโชติ ธารโต ทีมเก็บตก (อิสมาแอล /แวปาตีเมาะ /ปารีดะ/วัยโชติ) 2. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน แวปาตีเมาะ บันนังสตา
3. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา นาร์ดิน ยะหา
4. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรม กะดะห์ เบตง
5. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง อิสมาแอล กรงปินัง ทีมเมืองยะลา (สุชาดา / มาเรียม /เพ็ญศรี / นาร์ดิน) 6. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าสาป เพ็นศรี เมือง
7. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง มาเรียม เมือง
8. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา มาเรียม เมือง
9. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำใหม่ สุชาดา เมือง
10. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี สุชาดา เมือง
11. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโล๊ะหะลอ รูสลาม รามัน ทีมอำเภอรามัน (นายรูสลาม/นายรูสลัน/น.ส.ฟาฎีละห์/กัสดาฟี) 12. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ รูสลาม รามัน
13. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงย รุสลัน รามัน
14. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ฟาฎีละห์ รามัน
15. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง ฟาฎีละห์ รามัน
16. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินงาม รุสลัน รามัน

(2) โดยพื้นทีกองทุนสุขภาพตำบล Audit 19 พื้นทีจังหวัดยะลา ลำดับ พื้นที่ ผู้รับผิดชอบหลัก อำเภอ พีเลี้ยง 1. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง กะดะห์ เบตง ทีมเก็บตก (อิสมาแอล /แวปาตีเมาะ /ปารีดะ/วัยโชติ) 2. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต กะดะห์ ธารโต
3. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต วัยโชติ ธารโต
4. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคอกช้าง วัยโชติ ธารโต
5. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ แอ บันนังสตา
6. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ แวปาตีเมาะ บันนังสตา
7. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบันนังสตา แวปาตีเมาะ บันนังสตา
8. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ แอ กรงปินนัง
9. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง มาเรียม ยะหา ทีมเมืองยะลา (สุชาดา / มาเรียม /เพ็ญศรี / นาร์ดิน)




10. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาชี มาเรียม ยะหา
11. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หน้าถ้ำ สุชาดา เมือง
12. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา นาร์ดิน เมือง
13. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเซะ เพ็นศรี เมือง
14. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง นาร์ดิน เมือง
15. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง รูสลาม รามัน ทีมอำเภอรามัน (นายรูสลาม/นายรูสลัน/น.ส.ฟาฎีละห์/กัสดาฟี)




16. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกะรอ รุสลัน รามัน
17. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง รูสลาม รามัน
18. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ ฟาฎีละห์ รามัน
19. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบาลอ ฟาฎีละห์ รามัน

มติ ที่ประชุมเห็นชอบ

วาระที่ 6. เรื่องอื่น ๆ (ไม่มี)
เลิกประชุมเวลา 12.30 น.   (นายอิสมาแอล สิเดะ)   ผู้จดรายงานการประชุม

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน29 มกราคม 2564
29
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย แวปาตีเมาะ เจะปูเตะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เริ่มกระบวนการโดยมีการแนะนำตัวและทำความรู้จักในส่วนของพี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดแและเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนสุขภาพตำบล 2.จากนั้นทางพี่เลี้ยงได้มีให้ทางเจ้าหน้าทีผู้หน้ารับผิดชอบกองทุนได้มีการอธิบายถึงสถานการณ์ของกองทุนสุขภาพตำบล ในรายละเอียดของกระบวนการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา ในการประชุมคณะทำงาน และกระบวนการจัดแผนสุขภาพตำบล
3.ทางพี่เลี้ยงได้มีการแนะนำและดำเนินการเพิ่มเติมข้อมูลในระบบ และชี้แนะในการดำเนินงานอีกทั้งกระบวนการสนับสนุนในปีนี้ พร้อมให้แนวทางของการสนับสนุนปีหน้าที่จะมีเกณฑ์ของการประเมินในการสนับสนุนเพิ่มเติมในงบประมาณทางสปสช.เขต.12
4.วางแผนการดำเนินงานในการขับเคลื่อนกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ในเรื่องแผนสุขภาพตำบลทางกองทุนได้มีการดำเนินการระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพืนที ร่วมกันจัดทำแผนสุขภาพมาเรียบร้อย 2.ในส่วนสถานการณ์ในการอนุมัติงบประมาณโครงการมีการดำเนินการในช่วงเดือน พ.ย. 2563 คณะกรรมการอนุมัติ ทั้งหมด 39 โครงการ แล้ว แต่ส่วนใหญ่ผู้ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนส่งโครงการในรูปแบบเอกสาร ไม่ได้ลงในระบบ และเจ้าหน้าทีผู้รับชอบกองทุนจะเป็นคนลงข้อมูลโครงการอีกครั้ง ซึ่งในการลงครั้งนี้ พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดได้มีการให้ขอเสนอแนะได้ขอปรับแนวทางใหม่ โดยจะมีการให้ผู้ขอรับทุนสนับสนุนฝึกการพัฒนาโครงการในระบบ ก่อนโครงการจะผ่านสู่คณะกรรมการกองทุนพิจารณา เพื่อช่วยลดภาระงานเจ้าหน้ากองทุนได้ 3.ในการใส่ข้อมูลในระบบทางพี้เลี้ยงได้มีการลงข้อมูลแผนสุขภาพกองทุนในระบบ ซึ่งมี ดังนี้
(1) แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564
(2) แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564
(3) แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564 (4) แผนงานบุหรี่ ปี 2564 (5)  แผนงานสารเสพติด ปี 2564 (6) แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 ปี 2564
(7) แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564
(8) แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564
(9) แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564 พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะ ให้ทางเจ้าหน้าทีกองทุนตำบลช่วยในการเติมข้อมูล ในแผนนงานเพื่อความสมบูรณ์

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ลำใหม่27 มกราคม 2564
27
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย สุชาดา สุวรรณคีรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

มีการประชุมคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาและรับทราบการดำเนินงานของกองทุน ตลอดจนการติดตามผู้ขอรับทุนที่ยังไม่ส่งหลักฐาน ให้รีบดำเนินการ หากไม่สามารถดำเนินการได้ทัน ให้ทำเรื่องขอขยายเวลา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การดำเนินงานของกองทุน เกิดความล่าช้า ไม่เป็นไปตามแผนงาน และมีปัญหาเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการ กอปรกัป การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้เกิดปัญหาหลายเรื่อง ส่งผลให้การบริหารจัดการกองทุนไม่เป็นไปตามแผนงาน แต่อย่างไรก็ตามได้เสนอให้กองทุนเร่งดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามแนวทางของหลักประกันสุขภาพต่อไป

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล ทต.บุดี27 มกราคม 2564
27
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย สุชาดา สุวรรณคีรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จากการตรวจติดตามเพื่อสนับสนุนการทำแผนสุขภาพ กองทุนสุขภาพ ทต.บุดี พบว่า ได้ดำเนินการประขุมคณะกรรมการกองทุน กำหนดแผนการดำเนินงาน จำนวน 10 แผน ประกอบด้วย 1. แผนงานกิจกรรมทางกาย 2. แผนงานผู้สุงอายุ 3. แผนงานอาหารและโภชนาการ 4. แผนงานคนพิการ 5. แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว 6. แผนงานสิ่งแวดล้อม 7. แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไป ที่มีความเสี่ยง 8. แผนงานโรคเรื้อรัง 9. แผนงานอนามัยแม่และเด็ก 10. แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด และแผนการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพ พร้อมการเงินประจำปีงบประมาณ 2564 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2564 ดังนีี้ 10(1) จำนวน 450,000 10(2) จำนวน 940,060 10(3) จำนวน 80,000 10(4) จำนวน 114,000 10(5) จำนวน 50,000 รวมเป็นเงิน 1,634,060.67 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการติดตามการดำเนินงานของกองทุนเทศบาลตำบลบุดี ได้มีการอนุมัติแผนงการใช้จ่ายเงิน ตามโครงการ 10(1) ผู้ขอรับการสนับสนุน คือ รพ.บุดี 17 โครงการ 10(2) ผู้ขอรับการสนับสนุน คือ มัสยิส 15 โครงการ กลุ่มประชาขนในพื้นที่ 8 โครงการ อสม. 9 โครงการ 10(3) ผู้ขอรับการสนับสนุน คือ ชมรมผู้สูงอายุ 1 โครงการ แต่จากสถานการณ์การเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) การดำเนินงานของกองทุนไม่เป็นไปตามแผนการดำเนินงาน เนื่องจากต้องแก้ไขปัญหาการเกิดโรคระบาด และปัญหาที่พบอีกประการก็คือ การเขียนโครงการของผู้รับทุนยังไม่ถุูกต้อง ต้องมีการแก้ไข ทำให้เกิดความล่าช้าในการดำเนินโครงการ ส่งผลให้เกิดความล่าช้าในการเบิกจ่ายเงิน การบันทึกข้อมูลในระบบไม่สมบูรณ์ ไม่เป็นปัจจุบัน ยังไม่ส่งรายงานหลายโครงการ/กิจกรรม

สนับสนุนพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง ครั้งที่ 125 มกราคม 2564
25
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย farkhung
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้พัฒนาโครงการตามแผนงาน และอนุมัติเงิน ได้เข้าร่วมทำแผนปี2564โดยให้คณะกรรมการทบทวนสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ให้ครอบคลุมทุกประเภท หรือพิจารณาข้อมูลที่ตำบลที่คนในชุมชนมีปัญหาด้านสุขภาพเพื่อนำมาแก้ไข 1.แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาดปี 2564
2.แผนงานกิจกรรมทางกายปี2564 3.แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยงปี2564 4.แผนงานอาหารและโภชนาการปี2564 5.แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลปี2564

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อนุมัติแผนงานตามที่เสนอ

สนับสนุนการพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรม ครั้งที่ 121 มกราคม 2564
21
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย พี่ดะห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

โดยการเริ่มกระบวนการให้ทางเจ้าหน้าทีผู้รับผิดชอบกองทุนตำบลยะรมทักทายผู้เข้าร่วม ผู้ขอรับทุนในการพัฒนาโครงการ จากนั้นทางพี่เลี้ยงกองทุน จังหวัดยะลาได้มีการทบทวนในเรื่องหลักการ ตามระเบียนของกองทุน ว่าด้วยเรื่อง บทบาทหน้าทีของกองเลขา และปฎิทินรอบปีของกองทุน สปสช.และ ในเรื่องประเภทของผู้ขอรับทุน อีกทั้งเรื่องสถานการณ์ของอำเภอเบตง สำหรับปีที่ผ่านมา ต่อด้วยระเบียบของการใช้งบประมาณ จากนั้นให้ผู้รับทุนได้ทราบแนวทางของการเขียนโครงการ ผ่านระบบ และแนวทางการการเขียนโครงการ
จากนั้นได้อธิบายเรื่องรายละเอียดในการเขียนขอเสนอโครงการผ่านระบบกองทุน โดยพร้อมการลงมือฝึกการเขียนโครงการผ่านระบบ จนสามารถส่งโครงการให้เจ้าทีรับผิดชอบกองทุน อบต.ยะรมรับโครงการผ่านระบบได้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ในการกระบวนการฝึการการเขียนโครงการผ่านระบบทำให้ กลุ่มผู้ขอรับทุน ได้ส่งโครงการให้เจ้าหน้ากองทุนอบต.ยะรมรับโครงการผ่านระบบ โดยมีโครงการ 5 กลุ่มองค์กรในเพื้นทีเช่น รพ.สต.
กลุ่มอสม.  ชมรมตาดีกาตำบล งานสาธารณสุข อบต.ยะรม และกองสวัสดิการสังคม อบต.ยะรม กองการศึกษา เป็นต้น เข้าสู่รอบของการพิจารณาโครงการเดือนมีนาคมได้

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง12 มกราคม 2564
12
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย farkhung
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เริ่มกระบวนการโดยมีการแนะนำตัวและทำความรู้จักในส่วนของพี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดแและเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนสุขภาพตำบลอาซ่อง 2.จากนั้นทางพี่เลี้ยงได้มีให้ทางเจ้าหน้าทีผู้หน้ารับผิดชอบกองทุนได้มีการอธิบายถึงสถานการณ์ของกองทุนสุขภาพตำบลอาซ่อง ในรายละเอียดของกระบวนการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา ในการประชุมคณะทำงาน และกระบวนการจัดแผนสุขภาพตำบล
3.ทางพี่เลี้ยงได้มีการแนะนำและดำเนินการเพิ่มเติมข้อมูลในระบบ และชี้แนะในการดำเนินงานอีกทั้งกระบวนการสนับสนุนในปีนี้ พร้อมให้แนวทางของการสนับสนุนปีหน้าที่จะมีเกณฑ์ของการประเมินในการสนับสนุนเพิ่มเติมในงบประมาณทางสปสช.เขต.12
4.วางแผนการดำเนินงานในการขับเคลื่อนกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ในเรื่องแผนสุขภาพตำบลทางกองทุนได้มีการดำเนินการระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพืนที ร่วมกันจัดทำแผนสุขภาพมาเรียบร้อยแล้วพร้อมมีเอกสารแผนสุขภาพอยู่ที่กองทุนแต่ไม่ได้ดำเนินการเพิ่มเกสารในระบบ ซึ่งจะทางเจ้าหน้าได้ดำเนินเอกสารแยกออกมานอกจากในระบบ 2.ในส่วนสถานการณ์ในการอนุมัติงบประมาณโครงการยังไม่มีการดำเนินการแต่ได้มีการวางปฎิทินของการประชุมคณะกรรมการกองทุนไว้ในเดือนมีนาคม 2564 แล้ว แต่ส่วนใหญ่ผู้ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนส่งโครงการในรูปแบบเอกสาร ไม่ได้ลงในระบบ และเจ้าหน้าทีผู้รับชอบกองทุนจะเป็นคนลงข้อมูลโครงการอีกครั้ง ซึ่งในการลงครั้งนี้ ทางผู้รับผิดชอบกองทุนตำบลได้ขอปรับแนวทางใหม่ โดยจะมีการให้ผู้ขอรับทุนสนับสนุนฝึกการพัฒนาโครงการในระบบ ก่อนโครงการจะผ่านสู่คณะกรรมการกองทุนพิจารณา
3.เจ้าหน้าทีกองทุน อบต.ได้มีการปรับแนวทางการปฎิบัติเดิมผู้ขอรับการสนับสนุนส่งเอกสารมาเป็นระบบออนไลน และปรับแนวทางของการบริหารจัดการกองทุน ที่จะรับโครงการมาพิจารณาเป็นรอบไตรมาตร

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรม4 มกราคม 2564
4
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย พี่ดะห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เริ่มกระบวนการโดยมีการแนะนำตัวและทำความรู้จักในส่วนของพี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดแและเจ้าหน้ารับผิดชอบกองทุนสุขภาพตำบลยะรม
2.จากนั้นทางพี่เลี้ยงได้มีให้ทางเจ้าหน้าทีผู้หน้ารับผิดชอบกองทุนได้มีการอธิบายถึงสถานการณ์ของกองทุนสุขภาพตำบลยะรม ในรายละเอียดของกระบวนการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา ในการประชุมคณะทำงาน และกระบวนการจัดแผนสุขภาพตำบล
3.ทางพี่เลี้ยงได้มีการแนะนำและดำเนินการเพิ่มเติมข้อมูลในระบบ และชี้แนะในการดำเนินงานอีกทั้งกระบวนการสนับสนุนในปีนี้ พร้อมให้แนวทางของการสนับสนุนปีหน้าที่จะมีเกณฑ์ของการประเมินในการสนับสนุนเพิ่มเติมในงบประมาณทางสปสช.เขต.12
4.วางแผนการดำเนินงานในการขับเคลื่อนกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ในเรื่องแผนสุขภาพตำบลทางกองทุนได้มีการดำเนินการระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพืนที ร่วมกันจัดทำแผนสุขภาพมาเรียบร้อยแล้วพร้อมมีเอกสารแผนสุขภาพอยู่ที่กองทุนแต่ไม่ได้ดำเนินการเพิ่มเกสารในระบบ ซึ่งจะทางเจ้าหน้าได้ดำเนินเอกสารแยกออกมานอกจากในระบบ 2.ในส่วนสถานการณ์ในการอนุมัติงบประมาณโครงการยังไม่มีการดำเนินการแต่ได้มีการวางปฎิทินของการประชุมคณะกรรมการกองทุนไว้ในเดือนมีนาคม 2564 แล้ว แต่ส่วนใหญ่ผู้ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนส่งโครงการในรูปแบบเอกสาร ไม่ได้ลงในระบบ และเจ้าหน้าทีผู้รับชอบกองทุนจะเป็นคนลงข้อมูลโครงการอีกครั้ง ซึ่งในการลงครั้งนี้ ทางผู้รับผิดชอบกองทุนตำบลได้ขอปรับแนวทางใหม่ โดยจะมีการให้ผู้ขอรับทุนสนับสนุนฝึกการพัฒนาโครงการในระบบ ก่อนโครงการจะผ่านสู่คณะกรรมการกองทุนพิจารณา
3.เจ้าหน้าทีกองทุน อบต.ได้มีการปรับแนวทางการปฎิบัติเดิมผู้ขอรับการสนับสนุนส่งเอกสารมาเป็นระบบออนไลน และปรับแนวทางของการบริหารจัดการกองทุน ที่จะรับโครงการมาพิจารณาเป็นรอบไตรมาตร 4. พี่เลี้ยงสอนการคีย์ในระบบ

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร28 ธันวาคม 2563
28
ธันวาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย มาเรียม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้เข้าร่วมทำแผนปี2564โดยให้คณะกรรมการทบทวนสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ให้ครอบคลุมทุกประเภท หรือพิจารณาข้อมูลที่ตำบลที่คนในชุมชนมีปัญหาด้านสุขภาพเพื่อนำมาแก้ไข 1.กิจกรรมสนับสนุสหน่วยบริการหรือสถานบริการหรือหน่วยงานสาธารณสุข 2.กิจกรรมการสร้างเสริมสุภาพโดยประชาชนและชุมชนท้องถิ่นหน่วยงานอื่นๆ 3.กิจกรรมการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาศักยภาพกรรมการ และพัฒนาระบบบิหารจัดการ 4.กิจกรรมสนับสนุนการดูแลเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ป่วยเรื้อรัง 5.กิจกรรมกรณีระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร แผนงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ลำใหม่21 ธันวาคม 2563
21
ธันวาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย สุชาดา สุวรรณคีรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จากการตรวจติดตามการดำเนินงานกองทุนเทศบาลตำบลลำใหม่ได้มีการประชุมคณะอนุกรรมการ เพื่อติดตามความก้าวหน้าแผนงาน/โครงการ ปี 2563 และได้พิจารณาแผนงาน/โครงการ ปี 2564 เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2563 และจากการตรวจสอบเอกสารรายงานการประชุม พบว่า มีการเรียกคืนเงินปี 63 หากยังไม่ดำเนินการ แล้วให้เสนอโครงการใหม่ ซึ่งขณะนี้ยังไม่มีโครงการ และเป็นกองทุนที่ไม่มีการเคลื่อนไหว

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เนื่องจากกองทุนเทศบาลตำบลลำใหม่ มีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบการบริหารงานกองทุน มีเงินอุดหนุนที่ยังไม่รายงานผลการดำเนินงาน ทำให้เกิดปัญหาในเรื่องการดำเนินงานด้านบัญชี ซึ่งในเรื่องนี้ผุ้บริหารของเทศบาลตำบลลำใหม่ ได้กำชับให้ผู้รับผิดชอบ ติดตาม หากไม่ได้ดำเนินการให้นำเงินส่งคืนกองทุนต่อไป แล้วหากจะดำเนินการก็ให้จัดทำโครงการเข้ามาใหม่ จากปัญหาการขาดแคลนบุคลากร การจัดทำเอกสารที่ไม่สมบูรณ์ ทำให้การดำเนินงานกองทุนไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ได้แนะนำให้ผู้ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบฯ

ประชุมพี่เลี้ยง ครั้งที่ 113 พฤศจิกายน 2563
13
พฤศจิกายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย อิสมาแอล สิเดะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รายงานการประชุมคณะพี่เลี้ยงจังหวัดยะลา ครั้งที่ 1 /2563 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2563

ณ ร้านกาแฟอเมซอนผังเมือง 4 อ.เมือง จ.ยะลา

ผู้มาประชุม 1. นางสาวมาเรียม ชัยสันทนะ ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 2. นางเพ็นศรี มานันตพงค์ ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 3. นายนาร์ดิน เทษา ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 4. นายรุสลัม ดาราแม็ง ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 5. นายอิสมาแอล สิเดะ ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 6. นางปารีดะ แก้วกรด ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 7. นางสุชาดา สุวรรณคีรี ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 8. นางสาวฟาฎีละห์ บินติอิสมาอีล ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา

ผู้ไม่มาประชุม 1. นายอะห์หมัดกัสดาฟี มะฆุนิ ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 2. นางสาวแวปาตีเมาะ เจะปูเตะ ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา
3. นายวัยโชติ กาญจนาภักดี ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา 4. รูสลาม สาเร๊ะ ตำแหน่ง พี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดยะลา ผู้เข้าร่วมประชุม 1. นายสมาชาย ละอองพันธุ์ ตำแหน่ง หัวหน้างาน สปสช.เขต 12 สงขลา 2. นางสาวธัญญารัตน์ เจริญสุข ตำแหน่ง เจ้าหน้าที สปสช.เขต 12 สงขลา 3. นางสาวโซเฟีย ลือแบปัตตานี ตำแหน่ง เจ้าหน้าที สมาคมฟ้าใส 4. นางสาวต่วนรอฮีมะห์ โต๊ะกูบาฮา ตำแหน่ง เจ้าหน้าที สมาคมฟ้าใส

เริ่มประชุมเวลา 09.30 น.
คุณมาเรียมกล่าวเปิดประชุมพร้อมให้ทางผู้เข้าร่วมได้แนะนำตัวและมาจากที่ไหน จากนั้นดำเนินการตามระเบียบวาระการประชุมดังต่อไปนี้ วาระที่ 1.    เรื่องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ       โดย คุณสมชาย ละอองพันธุ์ ได้แจ้งรายละเอียดและอธิบายให้ที่ประชุมทราบว่า 1. เรื่องสภานการณ์ของกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นทีภาครวมเขต 12 ในช่วงปี 2563ที่ผ่านมา 2. เรื่องสภานการณ์ของกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นทีจังหวัดยะลา 3. การจัดสรรงบประมาณของสปสช.ในกองทุนสุขภาพตำบลและงบสนับสนุนเพิ่มตามเกณฑ์ที่กำหนด 4. การเช็ครายละเอียกการใช้งบประมาณของกองทุนสุขภาพตำบลที่ผ่านมา 5. มีกล่าวถึงบทบาทพีเลี้ยงกองทุนจังหวัด  และกลไกในการดำเนินงานในปีงบ 64

       ที่ประชุมรับทราบ

วาระที่ 2.    เรื่องรับรองรายงานการประชุม ( ไม่มี)                    
วาระที่ 3.    เรื่องสืบเนื่อง (ไม่มี)  
วาระที่ 4.    เรื่องเพื่อทราบ (ไม่มี) วาระที่ 5.    เรื่องเพื่อพิจารณา       5.1.เรื่องการแบ่งเขตความรับผิดชอบในกองทุนจาก  coaching 16 พื้นที และการติดตามกองทุนสุขภาพตำบล( Audit) 19 พื้นที โดยการแบ่งทีมจังหวัดยะลา ออกมา 3 ทีม โดยมี 1. ทีมอำเภอรามัน (นายรูสลาม/นายรูสลัน/น.ส.ฟาฎีละห์/กัสดาฟี) a. พื้นที coaching 6 กองทุน
b. พื้นที ติดตาม Audit 5 กองทุน
2. ทีมเมืองยะลา (สุชาดา / มาเรียม /เพ็ญศรี / นาร์ดิน) a. พื้นที coaching (5+ 1 กองทุนกรงปินัง) b. พื้นที ติดตาม Audit 6 กองทุน
3. ทีมเก็บตก (อิสมาแอล /แวปาตีเมาะ /ปารีดะ/วัยโชติ) a. พื้นที coaching 4 กองทุน b. พื้นที ติดตาม Audit 8 กองทุน
(1) โดยพื้นทีกองทุนสุขภาพตำบล  coaching 16 พื้นทีจังหวัดยะลา ลำดับ พื้นที่ อำเภอ พี่เลี้ยง 1. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ธารโต ทีมเก็บตก (อิสมาแอล /แวปาตีเมาะ /ปารีดะ/วัยโชติ) 2. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน บันนังสตา
3. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา ยะหา
4. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรม เบตง
5. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง กรงปินัง ทีมเมืองยะลา (สุชาดา / มาเรียม /เพ็ญศรี / นาร์ดิน) 6. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าสาป เมือง
7. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง เมือง
8. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา เมือง
9. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำใหม่ เมือง
10. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เมือง
11. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโล๊ะหะลอ รามัน ทีมอำเภอรามัน (นายรูสลาม/นายรูสลัน/น.ส.ฟาฎีละห์/กัสดาฟี) 12. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ รามัน
13. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงย รามัน
14. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู รามัน
15. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง รามัน
16. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินงาม รามัน

(2) โดยพื้นทีกองทุนสุขภาพตำบล  Audit 19 พื้นทีจังหวัดยะลา ลำดับ พื้นที่ อำเภอ พีเลี้ยง 1. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เบตง ทีมเก็บตก (อิสมาแอล /แวปาตีเมาะ /ปารีดะ/วัยโชติ) 2. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต ธารโต
3. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต ธารโต
4. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคอกช้าง ธารโต
5. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ บันนังสตา
6. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ บันนังสตา
7. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง ยะหา
8. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาชี ยะหา
9. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบันนังสตา บันนังสตา ทีมเมืองยะลา (สุชาดา / มาเรียม /เพ็ญศรี / นาร์ดิน)




10. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ กรงปินนัง
11. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หน้าถ้ำ เมือง
12. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา เมือง
13. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเซะ เมือง
14. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง เมือง
15. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง รามัน ทีมอำเภอรามัน (นายรูสลาม/นายรูสลัน/น.ส.ฟาฎีละห์/กัสดาฟี)




16. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกะรอ รามัน
17. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง รามัน
18. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ รามัน
19. กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบาลอ รามัน

มติ  ที่ประชุมเห็นชอบ 5.2 เรื่องช่วงเวลาของการดำเนินงานของพี่เลี้ยงจังหวัด ที่ กิจกรรม ช่วงเวลา 1. ลงสนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล พ.ย.- ก.ค.63 - สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนตำบบล พ.ย.- ธ.ค.63 - พัฒนาโครงการของกองทุนครั้งที่ 1 - พัฒนาโครงการของกองทุนครั้งที่ 2 ม.ค. – มี.ค.64 - ประเมินโครงการ/ติตามกองทุน มิ.ย. – ก.ค.64 2. ลงติตามกองทุนสุขภาพตำบล (Audit) ก.ค. – ส.ค.64

5.3 เรื่องรายละเอียดโครงการและสัญญาของทีมจังหวัดยะลา 1. การโอนงวดเงิน 15 /75/15 เป็น 3 งวดงาน 2. การบันทึกรายละเอียด กิจกรรมของการ coaching และAuditในระบบโดยได้มีการสอนลงกิจกรรมในระบบให้แต่ละคนได้ทดลอง  โดยให้ลงกิจกรรมดังนี้ • สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล............. โดย ทีม............(4 กิจกรรม) o 1. สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล……… o 2. สนับสนุนการพัฒนาโครงการ ครั้งที่ 1 o 3. สนับสนุนการพัฒนาโครงการ ครั้งที่ 3 o 4. สรุปประเมิน/ติดตามโครงการ • การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุนสุขภาพตำบล (Audit) โดยทีม.................. o การประเมินเยี่ยมติดตามกองทุน(Audit)  อบต................... วาระที่ 6.    เรื่องอื่น ๆ (ไม่มี)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พี้เลี้ยงได้แบ่งพื้นทีได้อย่างชัดเจน