กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ


“ โครงการสานพลังอาสาสมัครกู้ชีพ กู้ภัยตำบลย่านซื่อ ร่วมสร้างชุมชนปลอดภัย ไร้อุบัติเหตุ ”

ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมกู้ชีพกู้ภัยตำบลย่านซื่อ

ชื่อโครงการ โครงการสานพลังอาสาสมัครกู้ชีพ กู้ภัยตำบลย่านซื่อ ร่วมสร้างชุมชนปลอดภัย ไร้อุบัติเหตุ

ที่อยู่ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 007/60 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสานพลังอาสาสมัครกู้ชีพ กู้ภัยตำบลย่านซื่อ ร่วมสร้างชุมชนปลอดภัย ไร้อุบัติเหตุ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสานพลังอาสาสมัครกู้ชีพ กู้ภัยตำบลย่านซื่อ ร่วมสร้างชุมชนปลอดภัย ไร้อุบัติเหตุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสานพลังอาสาสมัครกู้ชีพ กู้ภัยตำบลย่านซื่อ ร่วมสร้างชุมชนปลอดภัย ไร้อุบัติเหตุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 007/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในแต่ละมีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุอันดับต้นๆของผู้เสียชีวิต ไม่ว่าจะเป็นช่วงเทศการ ปีใหม่ หรือสงกรานต์ จะมีผู้ที่ได้รับการบาดเจ็บหรือ เสียชีวิต จากอุบัติเหตุการจราจรบนท้องถนน ที่ขาดความระมัดระวังในการขับขี่ยวดยานพาหนะ และการไม่ปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด โดยผู้ประสบเหตุส่วนใหญ่จะอยู่ในวัยหนุ่มสาว และกว่าครึ่งของผู้ประสบเหตุ มีสาเหตุมาจากเมาสุราแล้วขับแทบทั้งสิ้น ซึ่งยานพาหนะที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุมากที่สุดคือ รถจักรยานยนต์ และประเทศไทยต้องสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจกว่าปีละแสนล้านบาท (จากข้อมูล TDRI) หากไม่มีการดำเนินการใดๆ ที่จะหยุดยั้งผู้ที่ดื่มสุราแล้วมาขับรถ จะส่งผลเสียต่อสังคมไทย ในด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินโดยส่วนรวม อุบัติเหตุบนทางหลวงนอกเขตเทศบาลมักเป็นอุบัติเหตุที่ร้ายแรง มีผู้บาดเจ็บล้มตายจำนวนมาก ส่วนอุบัติเหตุยานยนต์ ในเขตชุมชน ย่อมเกิดขึ้นบ่อยกว่าในทางหลวงหลายเท่า แต่มักไม่รุนแรง มีผู้บาดเจ็บถึงตายไม่มาก ส่วนมากเกิดจากรถนั่งส่วนบุคคลชนคนข้ามถนน รถยนต์ชนรถจักรยานยนต์ หรือรถยนต์ชนกันเอง เป็นต้น การในการป้องกันอุบัติเหตุในชุมชนทุก ๆ พื้นที่ คือ ชุมชนมีความเป็นเจ้าของโครงการ การมีเจ้าภาพชัดเจน โดยประชาชนมีส่วนร่วม การ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอุบัติเหตุ มีความรู้ มีวินัยจราจร การขับขี่ปลอดภัย และความตระหนักใน การป้องกันอุบัติเหตุ และมีการดำเนินการแบบต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยั่งยืน เช่น การมีแผนแม่บท การมีงบประมาณต่อเนื่อง ตระหนักในการป้องกันอุบัติเหตุ และการยอมรับจากข้อมูลอุบัติเหตุในพื้นที่ เมื่อผู้นำชุมชน มีความเข้มแข็งเกิดการมีส่วนร่วม เกิดกองทุนอุบัติเหตุในชุมชนเช่น หมวกกันน๊อค รถ EMS กฎชุมชน กติกาชุมชน การจัดสรรงบประมาณ การแสวงหา/เกิดเครือข่าย เช่น อปท มัสยิด โรงเรียน และเกิดเครือข่ายลดอุบัติเหตุในชุมชน ซึ่งชมรมอาสาสมัครกู้ชีพ กู้ภัยตำบลย่านซื่อ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการลดอุบัติเหตุในชุมชนตำบลย่านซื่อจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อดำเนินการลดอุบัติเหตุในชุมชนและประชาสัมพันธ์ พัฒนาเครือข่ายการป้องกันอุบัติเหตุในชุมชนให้มีความยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนในชุมชนมีความรู้ มีส่วนร่วมในการป้องกันอุบัติเหตุ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดอุบัติเหตุ การมีวินัยจราจร การขับขี่ปลอดภัย และมีการดำเนินการแบบต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยั่งยืน เช่น การมีแผนแม่บทของชุมชน การมีงบประมาณต่อเนื่อง การตระหนักในการป้องกันอุบัติเหตุ และการยอมรับจากข้อมูลอุบัติเหตุในพื้นที่ เมื่อผู้นำชุมชนมีความเข้มแข็งเกิดการมีส่วนร่วม เกิดกองทุนป้องกันอุบัติเหตุในชุมชน เช่น หมวกกันน๊อค, รถ EMS, กฎชุมชน, กติกาชุมชน และเกิดเครือข่ายลดอุบัติเหตุในชุมชน เช่น อปท. มัสยิด โรงเรียน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมอาสาฉุกเฉินชุมชน

    วันที่ 27 สิงหาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมสาธิต การปฐมพยาบาล การช่วยเหลือผู้ป่วยอุบัติเหตุ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    50 0

    2. กิจกรรม เสวนาความปลอดภัยบนท้องถนนและประชาสัมพันธ์ รณรงค์ใส่หมวกกันน๊อค

    วันที่ 28 สิงหาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอดบทเรียนการเกิดอุบัตเหตุในพื้นที่ สาเหตุหลัก และรณรงค์การสวมหมวกกันน๊อค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    50 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในชุมชน
    ตัวชี้วัด : อุบัติเหตุในพื้นที่ลดลงร้อยละ50

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสานพลังอาสาสมัครกู้ชีพ กู้ภัยตำบลย่านซื่อ ร่วมสร้างชุมชนปลอดภัย ไร้อุบัติเหตุ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 007/60

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมกู้ชีพกู้ภัยตำบลย่านซื่อ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด