โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในชุมชนบ้านควน ปีงบประมาณ2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในชุมชนบ้านควน ปีงบประมาณ2564 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางชำรี ฮะอุรา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กรกฎาคม 2564
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในชุมชนบ้านควน ปีงบประมาณ2564
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5307-2-05 เลขที่ข้อตกลง 15/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในชุมชนบ้านควน ปีงบประมาณ2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในชุมชนบ้านควน ปีงบประมาณ2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในชุมชนบ้านควน ปีงบประมาณ2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5307-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,995.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีสาเหตุมาจากแบบแผนชีวิตมนุษย์ที่มีความเครียดมากขึ้นมีนิสัยการบริโภคที่ไม่ถูกต้องการสูบบุหรี่ และขาดการออกกำลังกายสิ่งต่างๆ เหล่านี้ส่งผลให้เกิดโรคจากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นปัญหาที่สำคัญเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาดความรุนแรงของโรคเกิดได้ทั้งตายอย่างฉับพลันและมีภาวะแทรกซ้อนเกิดความพิการก่อนวัยอันควน อย่างไรก็ตาม โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ ถ้าเรามีความรู้ หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลให้เกิดโรค
จากการดำเนินงานคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวังติดตาม เพื่อป้องกันไม่ให้กลายเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่ มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ดังข้อมูลต่อไปนี้ ข้อมูลย้อยหลัง ปี 2561 -2562 พบผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 6 และ 5 คน ตามลำดับ ผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานจำนวน 0 และ 2 คน ตามลำดับอสม.หมู่ที่ 5 บ้านควน จึงได้จัดทำโครงการ ลดเสี่ยง ลดโรค ความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2564 ขึ้น เพื่อดูแลและติดตามภาวะสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งส่งเสริมความรู้เบื้องต้นในการดูแล ประเมินสุขภาพของตนเองได้โดยเน้นหลัก3อ2ส และเพื่อการส่งต่อที่รวดเร็ว ได้รับการวินิจฉัยอย่างรวดเร็วและช่วยลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ การติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องเป็นสิ่งจำเป็นที่กลุ่มเสี่ยงต้องได้รับเพื่อจะได้รู้เท่าทันสุขภาพตนเอง สามารดูแลป้องกันได้ทันท่วงที ส่งผลให้เกิดสุขภาพที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
35
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องครบทุกราย
2.กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
วันที่ 15 เมษายน 2563กิจกรรมที่ทำ
คัดกรองกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ที่ได้จากการคัดกรองสุขภาพ ประจำปี 2564 ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ส่งต่อ จากรพ.สต.บ้านควนลงสู่ชุมชน เพื่อติดตามสุขภาพอย่่างต่อเนื่อง เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณค่า BMI วัดความดันโลหิตสูง เจาะเลือดปลายนิ้วมือเพื่อหาค่าระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอย
จัดกลุ่มทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดย เจ้าหน้าที่ รพ.สต.เป็นผู้ดำเนินการและตอบข้อสงสัย
พูดคุยซักถามการดำเนินชีวิตประจำวัน พฤติกรรมสุขภาพรายบุคคล เพื่อค้นหา ข้อดี ข้อเสียรายบุคคล หาแนวทางแก้ไขร่วมกัน มี Good Model เข้ามามีส่วนร่วมเป็นแบบอย่างที่ดี พฤติกรรมสุขภาพที่ได้สามารถควบคุมพฤติกรรมตนเองได้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
70.00
100.00
80.00
ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
35
35
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
35
35
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในชุมชนบ้านควน ปีงบประมาณ2564 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5307-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางชำรี ฮะอุรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในชุมชนบ้านควน ปีงบประมาณ2564 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางชำรี ฮะอุรา
กรกฎาคม 2564
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5307-2-05 เลขที่ข้อตกลง 15/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในชุมชนบ้านควน ปีงบประมาณ2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในชุมชนบ้านควน ปีงบประมาณ2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในชุมชนบ้านควน ปีงบประมาณ2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5307-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,995.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีสาเหตุมาจากแบบแผนชีวิตมนุษย์ที่มีความเครียดมากขึ้นมีนิสัยการบริโภคที่ไม่ถูกต้องการสูบบุหรี่ และขาดการออกกำลังกายสิ่งต่างๆ เหล่านี้ส่งผลให้เกิดโรคจากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นปัญหาที่สำคัญเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาดความรุนแรงของโรคเกิดได้ทั้งตายอย่างฉับพลันและมีภาวะแทรกซ้อนเกิดความพิการก่อนวัยอันควน อย่างไรก็ตาม โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ ถ้าเรามีความรู้ หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลให้เกิดโรค
จากการดำเนินงานคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวังติดตาม เพื่อป้องกันไม่ให้กลายเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่ มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ดังข้อมูลต่อไปนี้ ข้อมูลย้อยหลัง ปี 2561 -2562 พบผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 6 และ 5 คน ตามลำดับ ผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานจำนวน 0 และ 2 คน ตามลำดับอสม.หมู่ที่ 5 บ้านควน จึงได้จัดทำโครงการ ลดเสี่ยง ลดโรค ความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2564 ขึ้น เพื่อดูแลและติดตามภาวะสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งส่งเสริมความรู้เบื้องต้นในการดูแล ประเมินสุขภาพของตนเองได้โดยเน้นหลัก3อ2ส และเพื่อการส่งต่อที่รวดเร็ว ได้รับการวินิจฉัยอย่างรวดเร็วและช่วยลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ การติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องเป็นสิ่งจำเป็นที่กลุ่มเสี่ยงต้องได้รับเพื่อจะได้รู้เท่าทันสุขภาพตนเอง สามารดูแลป้องกันได้ทันท่วงที ส่งผลให้เกิดสุขภาพที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 35 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องครบทุกราย
2.กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน |
||
วันที่ 15 เมษายน 2563กิจกรรมที่ทำคัดกรองกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ที่ได้จากการคัดกรองสุขภาพ ประจำปี 2564 ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ส่งต่อ จากรพ.สต.บ้านควนลงสู่ชุมชน เพื่อติดตามสุขภาพอย่่างต่อเนื่อง เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณค่า BMI วัดความดันโลหิตสูง เจาะเลือดปลายนิ้วมือเพื่อหาค่าระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง |
70.00 | 100.00 | 80.00 | ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 35 | 35 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 35 | 35 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในชุมชนบ้านควน ปีงบประมาณ2564 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5307-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางชำรี ฮะอุรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......