กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการเสริมพลังผู้ปกครองปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่ ”

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบองอจูโวะ

หัวหน้าโครงการ
นายมะยีดี สาและ

ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังผู้ปกครองปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่

ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบองอจูโวะ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-3-01 เลขที่ข้อตกลง 3/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กันยายน 2564 ถึง 24 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมพลังผู้ปกครองปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบองอจูโวะ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังผู้ปกครองปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ แนะนำรับประทานขนมที่มีประโยชน์ และปลอดภัยต่อร่างกาย 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กไม่รับประทานอาหารหวานมากเกินไป 3.เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพกายที่ดี และอนามัยที่สมบูรณ์ 4.เพื่อส่งเสริมให้เด็กรักการแปรงฟัน และดูแลสุขภาพในช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. อบรมให้ความรู้ แก่ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก เกี่ยวกับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเด็กปฐมวัย กระบานการมีส่วนร่วมระหว่างครอบครัวและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2. อบรมให้ความรู้ ผู้ปกครองเกี่ยวกับการส่งเสริมสนับสนุนการเตรียมความพร้อมอย่างมีมาตรฐานแก่เด็กปฐมวัยให้แก่พ่อ แม่ ผู้ปกครอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปันจุบันเด็กๆ นิยมรับประทานขนมคบเคี้ยวเป็นจำนวนมาก ในท้องตลาดมีขนมจำหน่ายมากมายหลายชนิด ลูกอมต่างๆ และเด็กติดขวดนม เป็นสาเหตุของโรคฟันเป็นสิ่งที่สามารถป้องกันได้ด้วย พฤติกรรมทันตสุขภาพที่เหมาะสม ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเริ่มต้นในช่วงปฐมวัย ด้วยการบ่มเพาะพฤติกรรมการทำความสะอาด และการบริโภคอาหารที่ส่งเสริมสุขภาพและไม่เสี่ยงต่อฟันพุ ซึ่งเป็นวิธีการป้องกันโรคฟันผุได้ด้วยตนเอง โครงการดูแลและสุขภาพในช่องผากให้แก่เด็ก ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กมีส่วนช่วยอบรมสั่งสอน ฝึกทักษะการแปรงฟันให้เด็ก รวมทั้งการเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็กในเรื่องของการทำความสะอาดฟัน และการเลือกกินขนมที่มีประโยชน์จะช่วยเสริมสร้างสุขนิสัยและการพัฒนาเป็นพฤติกรรมทันตสุขภาพที่ถูกต้องให้แก่เด็กซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคฟันผุ และมีส่วนทำให้เด็กมีสุขภาพกายดี และจิตใจแจ่มใสเปรียบเสมือนการสร้างให้เด็กมีต้นทุนที่ดีต่อการพัฒนาในด้านอื่นๆให้ได้ผลดียิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ แนะนำรับประทานขนมที่มีประโยชน์ และปลอดภัยต่อร่างกาย
  2. 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กไม่รับประทานอาหารหวานมากเกินไป
  3. 3.เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพกายที่ดี และอนามัยที่สมบูรณ์
  4. เพื่อส่งเสริมให้เด็กรักการแปรงฟัน และดูแลสุขภาพในช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมให้ความรู้ แก่ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก เกี่ยวกับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเด็กปฐมวัย กระบานการมีส่วนร่วมระหว่างครอบครัวและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. 2. อบรมให้ความรู้ ผู้ปกครองเกี่ยวกับการส่งเสริมสนับสนุนการเตรียมความพร้อมอย่างมีมาตรฐานแก่เด็กปฐมวัยให้แก่พ่อ แม่ ผู้ปกครอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 44
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจและนำทักษะกระบวนการเรียนรู้เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพทุกคน
  2. เด็กปฐมวัยและผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ ความเข้าใจในการช่วยดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของตนเองได้อย่างถูกวิธี
  3. เด็กปฐมวัย ได้รับการคุ้มครองส่งเสริมให้มีสุขภาวะและคุณภาพที่ดี และอยู่กันในสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. อบรมให้ความรู้ แก่ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก เกี่ยวกับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเด็กปฐมวัย การบริโภคอาหารที่ส่งเสริมสุขภาพและไม่เสี่ยงต่อฟันพุ

วันที่ 24 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะครูเพื่อจัดทำโครงการ ประชุมชี้แจงโครการแก่พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ดำเนินตามโครงการ อบรมให้ความรู้ แก่ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก เกี่ยวกับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเด็กปฐมวัย กระบานการมีส่วนร่วมระหว่างครอบครัวและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบรมให้ความรู้ ผู้ปกครองเกี่ยวกับการส่งเสริมสนับสนุนการเตรียมความพร้อมอย่างมีมาตรฐานแก่เด็กปฐมวัยให้แก่พ่อ แม่ ผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจและนำทักษะกระบวนการเรียนรู้เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพทุกคน
  2. ทำให้เด็กปฐมวัยและผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ ความเข้าใจในการช่วยดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของตนเองได้อย่างถูกวิธี
  3. ทำให้เด็กปฐมวัย ได้รับการคุ้มครองส่งเสริมให้มีสุขภาวะและคุณภาพที่ดี และอยู่กันในสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข

 

44 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ แนะนำรับประทานขนมที่มีประโยชน์ และปลอดภัยต่อร่างกาย
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ผู้ปกครองได้รู้จักเลือกซื้อขนมที่มีประโยชน์ต่อร่างกายของเด็ก ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
44.00 44.00 44.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กไม่รับประทานอาหารหวานมากเกินไป
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ผู้ปกครองได้ส่งเสริมเด็กให้มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ตามวัย ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
44.00 44.00 44.00

 

3 3.เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพกายที่ดี และอนามัยที่สมบูรณ์
ตัวชี้วัด :
44.00 44.00 44.00

 

4 เพื่อส่งเสริมให้เด็กรักการแปรงฟัน และดูแลสุขภาพในช่องปาก
ตัวชี้วัด :
44.00 44.00 44.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 44 44
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 44 44
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ แนะนำรับประทานขนมที่มีประโยชน์ และปลอดภัยต่อร่างกาย 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กไม่รับประทานอาหารหวานมากเกินไป 3.เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพกายที่ดี และอนามัยที่สมบูรณ์ 4.เพื่อส่งเสริมให้เด็กรักการแปรงฟัน และดูแลสุขภาพในช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. อบรมให้ความรู้ แก่ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก เกี่ยวกับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเด็กปฐมวัย กระบานการมีส่วนร่วมระหว่างครอบครัวและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2. อบรมให้ความรู้ ผู้ปกครองเกี่ยวกับการส่งเสริมสนับสนุนการเตรียมความพร้อมอย่างมีมาตรฐานแก่เด็กปฐมวัยให้แก่พ่อ แม่ ผู้ปกครอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมพลังผู้ปกครองปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะยีดี สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด