กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาองค์ความรู้เสริมสร้างแนวคิด วิถีใหม่สู่ยุค “นิว นอร์มอล” (New Normal) กลุ่มสภาเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก ประจำปีงบประมาณ 2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการพัฒนาองค์ความรู้เสริมสร้างแนวคิด วิถีใหม่สู่ยุค “นิว นอร์มอล” (New Normal) กลุ่มสภาเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก ประจำปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเล๊าะ มิงดอมิ๊

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาองค์ความรู้เสริมสร้างแนวคิด วิถีใหม่สู่ยุค “นิว นอร์มอล” (New Normal) กลุ่มสภาเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก ประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-2-01 เลขที่ข้อตกลง 5/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 กันยายน 2564 ถึง 28 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาองค์ความรู้เสริมสร้างแนวคิด วิถีใหม่สู่ยุค “นิว นอร์มอล” (New Normal) กลุ่มสภาเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาองค์ความรู้เสริมสร้างแนวคิด วิถีใหม่สู่ยุค “นิว นอร์มอล” (New Normal) กลุ่มสภาเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก ประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนรู้จักวิธีการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) แก่เด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก (2) เพื่อส่งเสริมสนับสนุน สร้างความตระหนักให้กับเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้แนวคิดและวิวัฒนาการใหม่ของสังคมมนุษย์ และระบบโลกใหม่ นิว นอร์มอล” (New Normal)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ความเป็นมาของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ แนวคิดและวิถีการป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (4) กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้การใช้ชีวิตในแนวทางวิถีใหม่ นิว นอร์มอล” (New Normal)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ เนื่องจากเชื้อไวรัสดังกล่าว ได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆทั่วโลกอย่างรวดเร็วรวมถึงการแพร่ระบาดเข้าสู่ประเทศไทย และแพร่เข้าสู่ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยพบผู้ติดเชื้อใน 3 จังหวัดชายแดนเป็นจำนวนมาก และมีหลักฐานการติดต่อของโรคจากคนสู่คน รัฐได้มีมาตรการการควบคุมหลายมาตรการตาม พรก.ฉุกเฉิน เช่น มาตรการเคอร์ฟิว ห้ามการประชุม ชุมนุม สวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือ เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ร่วมไปถึง นิว นอร์มอล” (New Normal) ที่เป็นโลกหลังโควิด-19 และกลายเป็นวิวัฒนาการใหม่ของสังคมมนุษย์ และระบบโลกใหม่ เช่นพฤติกรรมของการทำกิจกรรมต่างๆผ่านทางออนไลน์มากขึ้น เช่น การซื้อของออนไลน์ การประชุมออนไลน์ สิ่งเหล่านี้เป็นไปได้ว่าอาจกลายเป็น “นิว นอร์มอล” (New Normal) ที่แม้เดิมจะเกิดขึ้นอยู่แล้วแต่ก็มีโควิด-19 เป็นปัจจัยเร่ง ทำให้พฤติกรรมคนเปลี่ยนไปเร็วขึ้น หรือ ‘การเรียนออนไลน์’ ที่คนพูดว่าหลังจากเกิดโควิด-19 การเรียนออนไลน์มีบทบาทมากขึ้น ในอนาคตคนไม่ต้องไปโรงเรียนไม่ต้องไปมหาวิทยาลัยแล้ว การเรียนออนไลน์จะกลายเป็น “นิว นอร์มอล” (New Normal) ซึ่งข้อนี้ก็อาจจะไม่ใช่ทั้งหมด เพราะขึ้นอยู่กับบริบทของสังคมนั้นๆด้วย ตัวอย่างเช่น ที่สหรัฐอเมริกามีการเรียนการสอนออนไลน์มากเป็นปกติ การเกิดโควิด-19 ก็ไม่ได้ทำให้รู้สึกว่ามีความเปลี่ยนแปลงจากเดิมมากนัก ตรงกันข้ามคนเริ่มคิดถึงการเรียนการสอนแบบปกติที่ครูจะสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนและแลกเปลี่ยนความเห็นกันได้ทันทีมากกว่าด้วย ขณะที่ในญี่ปุ่นก่อนหน้าการเกิดโควิด-19 การเรียนออนไลน์ไม่เป็นที่นิยมเลย เมื่อเกิดโควิด-19 จึงเป็นสถานการณ์บังคับที่ให้ทุกสถานศึกษาต้องปรับตัว และมีแนวโน้มว่าหลังจากโควิด-19 ญี่ปุ่นก็จะมีการเรียนการสอนแบบออนไลน์มากขึ้น แต่การสอนแบบเดิมก็ยังคงมีอยู่การใส่หน้ากากอนามัยที่เราพูดกันว่าเป็น “นิว นอร์มอล” (New Normal) การป้องกันการแพร่ระบาดและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญ คือการป้องกันตนเองไม่ให้สัมผัสกับโรค โดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัดหรือมีมลภาวะ ไม่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยไอหรือจาม และที่สำคัญหากต้องดำเนินกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น จะต้องดำเนินการตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุขและกฎระเบียบของหมู่บ้าน โดยจะต้องได้รับการคัดกรองก่อนที่จะเข้าร่วมกิจกรรมของหมู่บ้าน สถานที่ชุมชน สถานที่ประชุม สถานที่ออกกำลังกาย หรืองานประเพณีต่างๆ ตามมาตรการควบคุมหลัก คือ การให้มีจุดบริการล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อโรค การสวมหน้ากากอนามัย การให้เว้นระยะห่างระหว่างโต๊ะและระหว่างที่นั่ง รวมถึงระยะห่างระหว่างการเดินอย่างน้อย 1 เมตร การทำความสะอาดในบริเวณสถานที่สำหรับให้บริการประชาชน และการให้ควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการมิให้แออัด เป็นต้น
ดังนั้นสภาเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออกจึงจัดทำโครงการ“การพัฒนาองค์ความรู้ เสริมสร้างแนวคิด วิถีใหม่สู่ยุค “นิว นอร์มอล” (New Normal) นี้ขึ้นเพื่อให้เด็กและเยาวชนรู้จักวิธีการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งเสริมสนับสนุน สร้างความตระหนักให้กับเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้แนวคิดและวิวัฒนาการใหม่ของสังคมมนุษย์ และระบบโลกใหม่ นิว นอร์มอล” (New Normal)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนรู้จักวิธีการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) แก่เด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก
  2. 2.เพื่อส่งเสริมสนับสนุน สร้างความตระหนักให้กับเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  3. 3.เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้แนวคิดและวิวัฒนาการใหม่ของสังคมมนุษย์ และระบบโลกใหม่ นิว นอร์มอล” (New Normal)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ความเป็นมาของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  3. กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ แนวคิดและวิถีการป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  4. กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้การใช้ชีวิตในแนวทางวิถีใหม่ นิว นอร์มอล” (New Normal)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กและเยาวชนรู้จักวิธีการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แก่เด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก
2. ส่งเสริมสนับสนุน สร้างความตระหนักให้กับเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3.เด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออกมีองค์ความรู้ในการทำเจลล้างมือ เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้แนวคิดและวิวัฒนาการใหม่ของสังคมมนุษย์ และระบบโลกใหม่ นิว นอร์มอล” (New Normal)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

วันที่ 27 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน 08.30 - 09.00 น. พิธีเปิดโครงการ 09.00 - 10.30 น. อบรมหัวข้อ เรื่องความเป็นมาของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 10.30 - 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 - 11.45 น. แนวคิดและวิธีการป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 11.45 - 12.45 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง 12.45 - 14.45 น. อบรมหัวข้อ เรื่องการใช้ชีวิตในแนวทางวิถีใหม่ นิว นอร์มอล (New Normal) 14.45 - 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง 15.00 - 16.30 น. อบรม (ต่อ) และข้อซักซ้อมรวบร่วมระดมกำลังกำหนดแนวคิดทางการแก้ไขปัญหาโควิด (COVID-19) 16.30 น. ปิดการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทำให้เด็กและเยาวชนรู้จักวิธีการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แก่เด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก
2. ทำให้ส่งเสริมสนับสนุน สร้างความตระหนักให้กับเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3.ทำให้เด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออกมีองค์ความรู้ในการทำเจลล้างมือ เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้แนวคิดและวิวัฒนาการใหม่ของสังคมมนุษย์ และระบบโลกใหม่ นิว นอร์มอล” (New Normal)

 

70 0

2. กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ความเป็นมาของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

วันที่ 27 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ความเป็นมาของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีการอบรมให้ความรู้ความเป็นมาของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

 

0 0

3. กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ แนวคิดและวิถีการป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

วันที่ 27 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ แนวคิดและวิถีการป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีการอบรมให้ความรู้ แนวคิดและวิถีการป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

 

0 0

4. กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้การใช้ชีวิตในแนวทางวิถีใหม่ นิว นอร์มอล” (New Normal)

วันที่ 27 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้การใช้ชีวิตในแนวทางวิถีใหม่ นิว นอร์มอล” (New Normal)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีการอบรมให้ความรู้การใช้ชีวิตในแนวทางวิถีใหม่ นิว นอร์มอล” (New Normal)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนรู้จักวิธีการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) แก่เด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก
ตัวชี้วัด : 1. เชิงปริมาณ เด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออกเข้าร่วม 2. เชิงคุณภาพ เด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออกรู้จักวิธีการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)
70.00 70.00 70.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมสนับสนุน สร้างความตระหนักให้กับเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด :
70.00 70.00 70.00

 

3 3.เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้แนวคิดและวิวัฒนาการใหม่ของสังคมมนุษย์ และระบบโลกใหม่ นิว นอร์มอล” (New Normal)
ตัวชี้วัด :
70.00 70.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 70
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนรู้จักวิธีการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) แก่เด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก (2) เพื่อส่งเสริมสนับสนุน สร้างความตระหนักให้กับเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้แนวคิดและวิวัฒนาการใหม่ของสังคมมนุษย์ และระบบโลกใหม่ นิว นอร์มอล” (New Normal)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ความเป็นมาของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ แนวคิดและวิถีการป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (4) กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้การใช้ชีวิตในแนวทางวิถีใหม่ นิว นอร์มอล” (New Normal)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาองค์ความรู้เสริมสร้างแนวคิด วิถีใหม่สู่ยุค “นิว นอร์มอล” (New Normal) กลุ่มสภาเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลเล๊าะ มิงดอมิ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด