กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการเฝ้าระวังควบคุมโรค มือ เท้า ปาก ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายนาวาวี หะยียาการียา

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังควบคุมโรค มือ เท้า ปาก

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-3-03 เลขที่ข้อตกลง 12/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 กันยายน 2564 ถึง 27 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังควบคุมโรค มือ เท้า ปาก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังควบคุมโรค มือ เท้า ปาก



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.เพื่อส่งเสริม ความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมือ เท้า ปากแก่ครูผู้แลเด็กและผู้ปกครอง 2.มีมุมให้ความรู้เรื่องโรคมือ เท้า ปากและโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3.เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เกี่ยว กับโรค มือ เท้า ปาก 2.จัดอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับทักษะการดูแลตนเองให้ปลอดโรค 3.กิจกรรมการสาธิตวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง 4.จัดกิจกรรมทำความสะอาดของเล่นทุกวันและทำความสะอาดของใช้ทุกวันศุกร์ของสัปดาห์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรค มือเท้าปาก นับเป็นโรคที่ระบาดในเด็กโรคหนึ่งที่พบทุกปี โดยเฉพะในช่วงที่เริ่มเข้าหน้าฝนเป็นที่มีอัตราการระบาดของโรคนี้สูงพบบ่อยในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี โดยปกติโรคนี้เป็นโรคที่ไม่น่ากลัวและหายเองได้โดยไม่มีปัญหา แต่ถ้าหากเกิดมีโรคแทรกซ้อนอาจทำให้ก้านสมองอักเสบ และส่งผลให้เกิดภาวะหายใจและระบบไหลเวียนของโลหิตล้มเหลว ถึงแก่ชีวิตได้อย่างรวดเร็ว โรคนี้ติดต่อกันได้ง่าย โดยการสัมผัสน้ำมูกน้ำลายหรืออุจจาระของผู้ป่วยโดยตรงหรือทางอ้อม โรคมือ เท้า ปากไม่มียารักษาจำเพาะ และยังไม่มีวัดซีนป้องกัน เด็กที่อยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมากมีโอกาสติดโรคกันได้ง่ายโดยเฉพาะเด้กที่อยู่ในสถานรับเลี้ยงเด็กหรือศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรค มือเท้า ปากที่ถูกต้อง อันการลดอัตราการเจ็บป่วยและป้องกันการระบาดของโรคในเด็กก่อนวัยเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริม ความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมือ เท้า ปากแก่ครูผู้แลเด็กและผู้ปกครอง
  2. 2.มีมุมให้ความรู้เรื่องโรคมือ เท้า ปากและโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. 3.เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เกี่ยว กับโรค มือ เท้า ปาก
  2. 2.จัดอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับทักษะการดูแลตนเองให้ปลอดโรค
  3. 3.กิจกรรมการสาธิตวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง
  4. 4.จัดกิจกรรมทำความสะอาดของเล่นทุกวันและทำความสะอาดของใช้ทุกวันศุกร์ของสัปดาห์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 29
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเกิดโรคมือเท้าปากแก่เด็กนักเรียนอีกทั้งมีทักษะการล้างมือสามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง 2.อัตราป่วย/จำนวนเด็กป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เกี่ยว กับโรค มือ เท้า ปาก

วันที่ 27 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

08.00-09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. ประธานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกล่าวดอาร์และให้โอวาสให้กับผู้ปกครอง 09.30-10.30 น. ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก 10.30 - 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 12.00 น. ให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการดูแลตนเองให้ปลอดโรค ได้แก่การล้างมือ 12.00 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน/ละหมาด 13.00 14.30 น. ให้ความรู้เรื่องโรคมือ เท้า ปาก และโรคติดต่อในเด็กก่อนวัยเรียน 14.30 14.50 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.50 16.00 น. ให้ความรู้เพื่อส่งเสริม ความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกัน มือ เท้า ปาก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทำให้ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเกิดโรคมือเท้าปากแก่เด็กนักเรียนอีกทั้งมีทักษะการล้างมือสามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง 2. ทำให้อัตราป่วย/จำนวนเด็กป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดลง

 

29 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริม ความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมือ เท้า ปากแก่ครูผู้แลเด็กและผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
29.00 29.00 29.00

 

2 2.มีมุมให้ความรู้เรื่องโรคมือ เท้า ปากและโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : เพื่อส่งเสริม ความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค มือ เท้า ปาก
29.00 29.00 29.00

 

3 3.เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด :
29.00 29.00 29.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 29 29
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 29 29
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.เพื่อส่งเสริม ความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมือ เท้า ปากแก่ครูผู้แลเด็กและผู้ปกครอง 2.มีมุมให้ความรู้เรื่องโรคมือ เท้า ปากและโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3.เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เกี่ยว กับโรค มือ เท้า ปาก 2.จัดอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับทักษะการดูแลตนเองให้ปลอดโรค 3.กิจกรรมการสาธิตวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง 4.จัดกิจกรรมทำความสะอาดของเล่นทุกวันและทำความสะอาดของใช้ทุกวันศุกร์ของสัปดาห์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังควบคุมโรค มือ เท้า ปาก จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-3-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนาวาวี หะยียาการียา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด