กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกำจัดเหาเด็กในวัยเรียนด้วยสมุนไพร
รหัสโครงการ 64-L2981-3-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลนาประดู่
วันที่อนุมัติ 17 พฤศจิกายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 41,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนายียะห์ เจะหะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอับดุลก้อเดช โต๊ะยะลา
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 94 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กก่อนวนเรียน (2-5ปี) ที่มีการติดเหา (ร้อยละ)
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเหาเป็นโรคที่พบกันบ่อยมากในเด็กนักเรียนระดับปฐมวัย โดยเฉพาะนักเรียนหญิงเกิดจากการไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย เครื่องนอน เป็นโรคที่น่ารังเกียจสำหรับคนทั่วไป และยังทำให้สุขภาพไม่ดี ก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็นเนื่องจากมีอาการคันศรีษะ และการรักษาโรเหาสมัยนี้ส่วนใหญ่มักจะใช้สารเคมีซึ่งเมื่อใช้แล้วอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ด้วยเหตุนี้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลนาประดู่ องค์การบริหารส่วนตำบลนาประดู่ จึงได้จัดทำโครงการกำจัดเหาในวัยเรียนด้วยสมุนไพรจากธรรมชาติใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมารักษาเด็กในวัยเรียน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการเกิดเหาในเด็กก่อนวัยเรียน

อัตราการเกิดเหาในเด็กก่อนวัยเรียนลดลง

60.00 30.00
2 ศึกษาวิธีการกำจัดเหาโดยใช้สมุนไพรธรรมชาติ

ร้อยละผู้ปกครองมีความเข้าใจในการใช้สมุนไพรธรรมชาติกำจัดเหามากขึ้น

0.00 80.00
3 เพื่อนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับปรุงให้เกิดประโยชน์

ร้อยละผู้ปกครองมีความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับปรุงให้เกิดประโยชน์มากขึ้น

80.00
4 เพื่อให้นักเรียนหญิงสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายด้วยตนเองให้ถูกต้อง

ร้อยละนักเรียนหญิงสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายด้วยตนเองได้มากขึ้น

40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 41,200.00 0 0.00
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติเกี่ยวกับการนำสมุนไพรธรรมชาติมากำจัดเหา 0 41,200.00 -

1.เสนอโครงการต่อนายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาประดู่

2.ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง

3.จัดทำแผน เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ที่ใช้ในการอบรม

4.ประชาสัมพันธ์โครงการ

5.จัดทำโครงการ

6.ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กในวัยเรียนสามารถดูแลรักษาความสะอาดของตนเองได้
  2. จำนวนเหาที่อยู่ในผมเด็กในวัยเรียนลดน้อยลง
  3. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ถึงประโยชน์ในเรื่องสมุนไพรพื้นบ้าน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 พ.ย. 2563 09:52 น.