กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการมะรือโบออกปลอดภัย ไร้โรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ปี 2564 ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางตัซนีม ต่วนมหญีย์

ชื่อโครงการ โครงการมะรือโบออกปลอดภัย ไร้โรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-1-02 เลขที่ข้อตกลง 19/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 ธันวาคม 2564 ถึง 22 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมะรือโบออกปลอดภัย ไร้โรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมะรือโบออกปลอดภัย ไร้โรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติที่ไม่ดีเกี่ยวกับวัคซีนในชุมชน (2) เพื่อสร้างความตระหนักรู้ในการได้รับวัคซีนตามช่วงอายุและประโยชน์ในการรับวัคซีนที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. อบรมให้ความรู้และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ครู อสม. และผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ในพื้นที่เขตรับผิดชอบ 2.ติดตามเยี่ยมบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แม้ว่าประเทศไทยจะมีมาตรการในการรณรงค์แก้ไขปัญหาการได้รับวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์ในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ แต่ตัวชี้วัดดังกล่าวก็ยังไม่บรรลุตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งนี้เนื่องจากผู้ปกครองบางส่วนกลัวผลข้างเคียงหลังการได้รับวัคซีนในเด็ก และมีความเชื่อและความเข้าใจที่ผิดๆเกี่ยวกับวัคซีนส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุขในพื้นที่มาอย่างต่อเนื่องและยาวนานโดยในปีที่ผ่านมา รพ.สต.มะรือโบออกมีเด็กอายุ 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุน้อยกว่าร้อยละ 95 จากสถาณการณ์ดังกล่าว ทางรพ.สต.มะรือโบออก จึงได้ร่วมกับโครงการจัดตั้งคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ในการพัฒนา “กลไกส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี” ขึ้น โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในการคิดวางแผนและดำเนินการป้องกันและแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เริ่มตั้งแต่ การทำความรู้จักชุมชน การวิเคราะห์ปัญหา นำมาวางแผนหรือการพัฒนากลไกการส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก 0-5 ปีในพื้นที่ และวิพากย์กลไกโดยผู้ทรงคุณวุฒิจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง จนได้ “กลไก 4 เสาหลักหรือกะบะฮ์โมเดล” ซึ่งอาศัยการขับเคลื่อนโดยกลุ่มคน 4 กลุ่มหลักได้แก่ ผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน (เสาที่ 1 มัสยิด) บุคลากรทางสุขภาพและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (เสาที่ 2โรงพยาบาล) พ่อแม่หรือผู้ปกครอง (เสาที่ 3บ้าน) และครูในโรงเรียนหรือศูนย์เด็กเล็ก (เสาที่ 4โรงเรียน)มาเป็นกลไกหลักในการผลักดันให้การป้องกันและสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปีในพื้นที่ดำเนินต่อไปได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ
ดังนั้นรพ.สต.มะรือโบออกได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการนำ “กลไกส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี หรือกลไก 4 เสาหลัก (กะบะฮ์โมเดล)” มาใช้ในการส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปีในพื้นที่ตำบล/หมู่บ้าน เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน การลดอัตราการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเด็ก 0-5 ปีในพื้นที่มะรือโบออกให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติที่ไม่ดีเกี่ยวกับวัคซีนในชุมชน
  2. เพื่อสร้างความตระหนักรู้ในการได้รับวัคซีนตามช่วงอายุและประโยชน์ในการรับวัคซีนที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมให้ความรู้และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ครู อสม. และผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ในพื้นที่เขตรับผิดชอบ
  2. ติดตามเยี่ยมบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อนำกลไกสี่เสาหลักที่พัฒนาขึ้นมาใช้ในการส่งเสริมการดำเนินการเพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุ 2.เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. อบรมให้ความรู้และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ครู อสม. และผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ในพื้นที่เขตรับผิดชอบ

วันที่ 22 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น.-ลงทะเบียนเข้าร่วมอบรม                         -ทําแบบทดสอบก่อนเข้ารับการอบรม ๐๙.๐๐ - ๑๐.๓๐ น.-สถานการณ์โรคติดต่อในปัจจุบัน และให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนพื้นฐาน ที่ควร ได้รับตามเกณฑ์อายุ และการดูแลบุตรภายหลังได้รับวัคซีน โดย นางสาวนูรีซัน สุหลง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ๑๑.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. -หลักการทางศาสนาอิสลามว่าด้วยเรื่องวัคซีน โดย นายอับดุลมานะ หะยีหะมะ
๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. -พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ - ๑๔.๓๐ น. เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาเรื่องวัคซีนในชุมชน . โดย นางสาวนูรีซัน สุหลง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
๑๕.๐๐ - ๑๖.๐๐ น- นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครอง มีความตระหนักและนำ บุตรไปฉีดวัคซีนให้ครบชุดตามเกณฑ์อายุ โดยใช้กลไกสี่เสาหลัก มาช่วยในการ แก้ไขปัญหา โดย นางสาวนูรีซัน สุหลง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
๑๕.๐๐ - ๑๖.๐๐ น -สรุปบทเรียนและทำแบบทดสอบ
หมายเหตุ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๐๐ น.  ๑๔.๓๐ - ๑๕.๐๐ น. -พักรับประทานอาหารว่าง -พักรับประทานอาหารว่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทำให้รู้เรื่องกลไกสี่เสาหลักที่พัฒนาขึ้นมาใช้ในการส่งเสริมการดำเนินการเพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุ
2.ทำให้วิธีการป้องกันการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบ

 

55 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติที่ไม่ดีเกี่ยวกับวัคซีนในชุมชน
ตัวชี้วัด : เด็กที่มีอายุครบ 1 ปี2 ปี3 ปี และ 5 ปีได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุเพิ่มขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 25หรือได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 95ในเด็กอายุครบ 1 ปีและ กลุ่มอื่นๆ มากกว่าร้อยละ 90ตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดเพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันในชุมชน
55.00 57.00 55.00

 

2 เพื่อสร้างความตระหนักรู้ในการได้รับวัคซีนตามช่วงอายุและประโยชน์ในการรับวัคซีนที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องวัคซีนได้อย่างถูกต้องมากกว่า ร้อยละ 80
55.00 57.00 55.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติที่ไม่ดีเกี่ยวกับวัคซีนในชุมชน (2) เพื่อสร้างความตระหนักรู้ในการได้รับวัคซีนตามช่วงอายุและประโยชน์ในการรับวัคซีนที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. อบรมให้ความรู้และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ครู อสม. และผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ในพื้นที่เขตรับผิดชอบ 2.ติดตามเยี่ยมบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมะรือโบออกปลอดภัย ไร้โรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางตัซนีม ต่วนมหญีย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด