กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการให้ความรู้เชิงรุก ด้านความปลอดภัยจาการใช้ยาปฏิชีวนะ ที่ถูกต้อง ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายดานิช ดิงปาเนาะ

ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้เชิงรุก ด้านความปลอดภัยจาการใช้ยาปฏิชีวนะ ที่ถูกต้อง

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-1-10 เลขที่ข้อตกลง 32/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 ธันวาคม 2564 ถึง 21 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้เชิงรุก ด้านความปลอดภัยจาการใช้ยาปฏิชีวนะ ที่ถูกต้อง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้เชิงรุก ด้านความปลอดภัยจาการใช้ยาปฏิชีวนะ ที่ถูกต้อง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายยาอันตรายโดยเฉพาะร้านของชำในชุมชนและเพื่อสร้างความตระหนักความรู้ในชุมชนเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องและสมเหตุสมผลโดยเฉพาะกลุ่มยาปฏิชีวนะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะในผู้ประกอบการร้านของชำ และผู้นำต่างๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลของคนในชุมชนเป็นปัญหาที่มีความซับซ้อนและมีปัจจัยที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องหลายส่วนทั้งจากตัวผู้ใช้ยาเอง ผู้สั่งใช้ยา ตลอดจนการควบคุมตามกฎหมาย ดังนั้นการดำเนินการจึงต้องใช้มาตรการที่หลากหลายทั้งความร่วมมือของหลายภาคส่วน หลายระดับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปิเหล็ง มีหมู่บ้านรับผิดชอบทั้งหมด 6 หมู่บ้าน มีร้านขายยา 24 ร้าน มีร้านค้า ร้านชำ ทั้งหมด 40 ร้าน และจากการสำรวจร้านค้า พบว่ามีร้านค้าร้านชำอีกหลายร้านที่นำยาที่ไม่ใช่ยาสามัญประจำบ้านมาขายให้แก่คนในชุมชนและจากการสอบถามผู้ประกอบการเกี่ยวกับพิษภัยของยา ปรากฎว่าไม่มีความรู้และไม่ทราบถึงผลข้างเคียงที่ตามมา จากการดำเนินงานเกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภคตลอดมา ได้เพียงให้คำแนะนำและให้ความรู้และยังไม่สามารถลดการนำปฎิชีวนะมาขายในชุมชนได้ จากสภาพปัญหาดังกล่าว จึงคิดหาแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้การขับเคลื่อนกิจกรรมการส่งเสริมการใช้ยาในชุมชนมีความชัดเจนและสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปิเหล็งและองค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออก จึงได้จัดทำโครงการการให้ความรู้เชิงรุก ด้านความปลอดภัยจากการใช้ยาปฏิชีวนะ ที่ถูกต้องในชุมชน บ้านปิเหล็ง ประจำปีงบประมาณ 2564 และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาโดยใช้ชุมชนเป็นฐานและเน้นการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ซึ่งครอบคลุมประเด็นการใช้ยาปฎิชีวนะ ยาชุดและการใช้ยาสเตียรอยด์ โดยไม่จำเป็นเพื่อให้คนในชุมชนมีการพัฒนาการจัดการเรื่องยาให้สมเหตุสมผลและปลอดภัยในระยะยาวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายยาอันตรายโดยเฉพาะร้านของชำในชุมชนและเพื่อสร้างความตระหนักความรู้ในชุมชนเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องและสมเหตุสมผลโดยเฉพาะกลุ่มยาปฏิชีวนะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะในผู้ประกอบการร้านของชำ และผู้นำต่างๆ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยลดการใช้ยาปฏิชีวนะใน ๓ โรค (โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน.ท้องร่วงเฉียบพลัน,แผลเลือดออก) และเพื่อสร้างความตระหนักความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องและสมเหตุสมผลโดยเฉพาะกลุ่มยาปฏิชีวนะ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะในผู้ประกอบการร้านของชำ และผู้นำต่างๆ

วันที่ 21 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

8.30 น.-  9.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 9.00 น. - 10.00 น. ให้ความรู้เรื่องการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุสมผล 10.00น. - 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30 น .- 11.30 น. ให้ความรู้เรื่องเรามารู้จัก “ตัวอย่างยา ปฏิชีวนะและยาอันตราย 11.30 น. - 12.00 น. ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความรู้และร่วมกัน แสดงความคิดเห็น 12.00 น .- 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. - 14.00 น. ให้ความรู้เรื่องยาปฏิชีวนะ “หลายคนรู้จักจริง”
14.00 น. - 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.30 น. - 15.30 น. ให้ความรู้เรื่อง โรครักษาได้ โดยไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ 15.30 น. - 16.00 น. ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความรู้และร่วมกัน แลกเปลี่ยนความรู้การใช้ยา 16.30 น. เสร็จอบรมโครงการโครงการการให้ความรู้เชิงรุก ด้าน ความปลอดภัยจากการใช้ยาปฏิชีวนะ ที่ถูกต้องในชุมชน ตำบลมะรือโบออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ประกอบการร้านชำมีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยลดการใช้ยาปฏิชีวนะใน ๓ โรค (โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน.ท้องร่วงเฉียบพลัน,แผลเลือดออก) และเพื่อสร้างความตระหนักความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องและสมเหตุสมผลโดยเฉพาะกลุ่มยาปฏิชีวนะ

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายยาอันตรายโดยเฉพาะร้านของชำในชุมชนและเพื่อสร้างความตระหนักความรู้ในชุมชนเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องและสมเหตุสมผลโดยเฉพาะกลุ่มยาปฏิชีวนะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการร้านชำมีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยลดการใช้ยาปฏิชีวนะใน ๓ โรค (โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน.ท้องร่วงเฉียบพลัน,แผลเลือดออก) และเพื่อสร้างความตระหนักความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องและสมเหตุสมผลโดยเฉพาะกลุ่มยาปฏิชีวนะ
40.00 40.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายยาอันตรายโดยเฉพาะร้านของชำในชุมชนและเพื่อสร้างความตระหนักความรู้ในชุมชนเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องและสมเหตุสมผลโดยเฉพาะกลุ่มยาปฏิชีวนะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะในผู้ประกอบการร้านของชำ และผู้นำต่างๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการให้ความรู้เชิงรุก ด้านความปลอดภัยจาการใช้ยาปฏิชีวนะ ที่ถูกต้อง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายดานิช ดิงปาเนาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด