โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปุโละปุโย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปุโละปุโย ”
ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปุโละปุโย
ที่อยู่ ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L3069-10(3)12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปุโละปุโย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปุโละปุโย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปุโละปุโย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3069-10(3)12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นประชากรกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่งของประเทศ ด้วยความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้ประชากรผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ ปี พ.ศ.2560 - 2562 พบกลุ่มผู้สูงอายุ 15.45 16.06 และ 16.73 ตามลำดับ (กรมกิจการผู้สูงอายุ) ปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งจากบุตรหลานมากขึ้นทำกิจวัตรและดูแลตัวเองในเรื่องของความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันมากขึ้น เมื่อเจ็บป่วยไม่สามารถมารับบริการด้านสาธารณสุขได้ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ปี พ.ศ.2560 – 2562 พบผู้ป่วย ที่ต้องได้รับยาอย่างต่อเนื่อง และไม่มีความรู้ในเรื่อง การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ การออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน การป้องกันอุบัติเหตุเหล่านี้เป็นต้น เพื่อที่จะสามรถดูแลสุขภาพร่างกายของตัวเองได้ ทำให้เกิดปัญหาได้น้อยที่สุด และถ้าครอบครัวเล็งเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุด้วยแล้ว ครอบครัว และทุกคนมีสุขภาพจิตที่ดีส่งผลให้ร่างกายดีตามมา
การพัฒนาองค์ความรู้ต่างๆ ทั้งการสร้างต้นแบบสุขภาพ สร้างเครือข่ายด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย ที่ต้องมีการมุ่งสร้างการส่งเสริมสุขภาพในการ เตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่หลากหลายด้านในการรองรับ ดังนั้นจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ในการดำเนินงานเพื่อการแก้ไขปัญหาโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ต้องมีการเตรียมการด้านสุขภาพเพื่อยามสูงอายุ โดยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุนับว่าเป็นภารกิจที่สำคัญสำหรับครอบครัว ชุมชน และสังคมโดยรวม เพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตัวเอง และได้รับบริการสาธารณสุขได้โดยไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลปุโละปุโยจึงได้จัดทำโครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปี 2564 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตนเองได้,เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานได้,เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแล ติดตาม และเติมยาที่บ้านอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงและติดตามการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
273
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านร้อยละ 100
- ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง
- เยี่ยมบ้านติดตาม เติมยาในกลุ่มผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานที่ไม่สามารถมารับบริการในสถานบริการได้ ร้อยละ 100
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตนเองได้,เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานได้,เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแล ติดตาม และเติมยาที่บ้านอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านร้อยละ 100
2.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ร้อยละ 90
3. เยี่ยมบ้านติดตาม เติมยาที่บ้านในกลุ่มผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานที่ไม่สามารถมารับบริการในสถานบริการได้ ร้อยละ 100
90.00
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
273
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
273
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตนเองได้,เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานได้,เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแล ติดตาม และเติมยาที่บ้านอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงและติดตามการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปุโละปุโย จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L3069-10(3)12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปุโละปุโย ”
ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L3069-10(3)12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปุโละปุโย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปุโละปุโย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปุโละปุโย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3069-10(3)12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นประชากรกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่งของประเทศ ด้วยความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้ประชากรผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ ปี พ.ศ.2560 - 2562 พบกลุ่มผู้สูงอายุ 15.45 16.06 และ 16.73 ตามลำดับ (กรมกิจการผู้สูงอายุ) ปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งจากบุตรหลานมากขึ้นทำกิจวัตรและดูแลตัวเองในเรื่องของความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันมากขึ้น เมื่อเจ็บป่วยไม่สามารถมารับบริการด้านสาธารณสุขได้ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ปี พ.ศ.2560 – 2562 พบผู้ป่วย ที่ต้องได้รับยาอย่างต่อเนื่อง และไม่มีความรู้ในเรื่อง การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ การออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน การป้องกันอุบัติเหตุเหล่านี้เป็นต้น เพื่อที่จะสามรถดูแลสุขภาพร่างกายของตัวเองได้ ทำให้เกิดปัญหาได้น้อยที่สุด และถ้าครอบครัวเล็งเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุด้วยแล้ว ครอบครัว และทุกคนมีสุขภาพจิตที่ดีส่งผลให้ร่างกายดีตามมา
การพัฒนาองค์ความรู้ต่างๆ ทั้งการสร้างต้นแบบสุขภาพ สร้างเครือข่ายด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย ที่ต้องมีการมุ่งสร้างการส่งเสริมสุขภาพในการ เตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่หลากหลายด้านในการรองรับ ดังนั้นจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ในการดำเนินงานเพื่อการแก้ไขปัญหาโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ต้องมีการเตรียมการด้านสุขภาพเพื่อยามสูงอายุ โดยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุนับว่าเป็นภารกิจที่สำคัญสำหรับครอบครัว ชุมชน และสังคมโดยรวม เพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตัวเอง และได้รับบริการสาธารณสุขได้โดยไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลปุโละปุโยจึงได้จัดทำโครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปี 2564 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตนเองได้,เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานได้,เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแล ติดตาม และเติมยาที่บ้านอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงและติดตามการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 273 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านร้อยละ 100
- ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง
- เยี่ยมบ้านติดตาม เติมยาในกลุ่มผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานที่ไม่สามารถมารับบริการในสถานบริการได้ ร้อยละ 100
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตนเองได้,เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานได้,เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแล ติดตาม และเติมยาที่บ้านอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านร้อยละ 100 2.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ร้อยละ 90 3. เยี่ยมบ้านติดตาม เติมยาที่บ้านในกลุ่มผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานที่ไม่สามารถมารับบริการในสถานบริการได้ ร้อยละ 100 |
90.00 | 1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 273 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 273 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 0 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตนเองได้,เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานได้,เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแล ติดตาม และเติมยาที่บ้านอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงและติดตามการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลปุโละปุโย จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L3069-10(3)12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......