กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสมกับโรค เพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรัง ควบคุมความรุนแรงของโรคเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถตอบคำถาม เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง และเหมาะสมได้ 6 ใน 10 ข้อ 2. ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประสบการณ์จากกิจกรรม “น้ำยาหรอย ถอยห่างโรค” และการถ่ายทอดการดูแลตัวเองจากแขกรับเชิญ
0.00

 

 

 

2 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ออกกำลังกาย สามารถตอบคำถามเกี่ยวกับการออกกำลังกายที่ถูกต้องได้ 3 ใน 5 ข้อ 2.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกกำลังกาย สามารถสาธิตย้อนกลับการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า และ SKT ได้ถูกต้องทุกท่า
0.00

 

 

 

3 3. เพื่อสร้างแกนนำในการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า และ SKT
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 ของแกนนำมีความรู้ในการออกกำลังกาย 2.ร้อยละ 100 ของแกนนำมีทักษะในการออกกำลังกายสามารถสาธิตย้อนกลับการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า และ SKT ได้ถูกต้องทุกท่า
0.00

 

 

 

4 4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
0.00