กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

5.3 การประเมินประสิทธิผลของโครงการ ภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ การจัดโครงการ ทอนคลองกินดี ชีวีมีสุข ต้านทุกข์ด้วยการออกกาลังกาย มี 2 ระยะ คือ การจัดอบรม แกนนาการออกกาลังกายด้วยผ้าขาวม้าและสมาธิบาบัด SKT ในวันที่ 11-12 พฤศจิกายน 2563 ซึ่งมีผู้เข้าร่วมจานวน 8 คน จากกลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้น 8 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และระยะที่ 2 จัดขึ้นในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2563 มีผู้เข้าร่วมโครงการจานวน 87 คน จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55 คน คิดเป็นร้อยละ 116.36 และสามารถประเมินผลโครงการ ตามวัตถุประสงค์/เป้าหมายของโครงการได้ ดังนี้ วัตถุประสงค์ที่ 1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสมกับโรค เพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรัง ควบคุมความรุนแรงของโรคเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง เป้าหมาย หลังได้รับความรู้ ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการ (60/10055 = 33 คน) สามารถตอบคาถาม เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสม ได้ถูกต้องอย่างน้อย 6 ใน 10 ข้อ ภายหลังการให้ความรู้ในกิจกรรม ลด หวาน มัน เค็ม 3 ตัวร้ายก่อโรคเรื้อรัง ผู้เข้าร่วมจานวน 43 คน สามารถตอบคาถามได้ถูกต้องอย่างน้อย 6 ข้อใน 10 ข้อ จานวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และสามารถคานวณประสิทธิผลของโครงการได้ ดังนี้ประสิทธิผลของโครงการ = ผลลัพธ์ที่ทาได้ x 100เป้าหมายที่กาหนดไว้ = 100 x 10060 = 166.66 ดังนั้น สรุปได้ว่า การดาเนินโครงการในวัตถุประสงค์นี้บรรลุเป้าหมาย วัตถุประสงค์ที่ 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการออกกาลังกายที่ถูกต้อง 2.1 เป้าหมาย หลังได้รับความรู้ ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการ (60/10055 = 33 คน) สามารถตอบคาถามเกี่ยวกับการออกกาลังกายที่ได้ถูกต้องอย่างน้อย 5 ใน 7 ข้อ ภายหลังการให้ความรู้ในกิจกรรม ขยับซ้ายผ้าขาวม้า ขยับขวา SKT ผู้เข้าร่วมจานวน 43 คน สามารถตอบคาถามได้ถูกต้องอย่างน้อย 5 ข้อใน 7 ข้อ จานวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และสามารถคานวณประสิทธิผลของโครงการได้ ดังนี้ ประสิทธิผลของโครงการ = ผลลัพธ์ที่ทาได้ x 100เป้าหมายที่กาหนดไว้ = 100 x 10060 = 166.66 ดังนั้น สรุปได้ว่า การดาเนินโครงการในวัตถุประสงค์นี้บรรลุเป้าหมาย 2.2 เป้าหมาย หลังการสาธิตการออกกาลังกายด้วยผ้าขาวม้า และสมาธิบาบัด SKT ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ (80/10055 = 44 คน) สามารถสาธิตย้อนกลับการออกกาลังกายด้วยผ้าขาวม้า และสมาธิบาบัด SKT ได้ถูกต้องทุกท่า ภายหลังการเข้าร่วมกิจกรรม ขยับซ้ายผ้าขาวม้า ขยับขวา SKT ผู้เข้าร่วมจานวน 43 คน สามารถสาธิตย้อนกลับการออกกาลังกายด้วยผ้าขาวม้า และสมาธิบาบัด SKT ได้ถูกต้องทุกท่า จานวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และสามารถคานวณประสิทธิผลของโครงการได้ ดังนี้ประสิทธิผลของโครงการ = ผลลัพธ์ที่ทาได้ x 100เป้าหมายที่กาหนดไว้ = 100 x 10080 = 125 คือ ประสิทธิผลของโครงการที่คิดจากจานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง แต่จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ได้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ (44 คน) โดยขาดไป 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.27 ดังนั้น สรุปได้ว่า การดาเนินโครงการในวัตถุประสงค์นี้บรรลุเป้าหมาย?? วัตถุประสงค์ที่ 3 เพื่อสร้างแกนนาในการออกกาลังกายด้วยผ้าขาวม้า และสมาธิบาบัด SKT 3.1 เป้าหมาย หลังได้รับความรู้ ร้อยละ 100 ของแกนนา (100/1008 = 8 คน) สามารถตอบคาถามได้ถูกต้องอย่างน้อย 5 ข้อใน 7 ข้อ ภายหลังการให้ความรู้ในกิจกรรม ขยับซ้ายผ้าขาวม้า ขยับขวา SKT ผู้เข้าร่วมจานวน 8 คน สามารถตอบคาถามได้ถูกต้องอย่างน้อย 5 ข้อใน 7 ข้อ จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และสามารถคานวณประสิทธิผลของโครงการได้ ดังนี้ ประสิทธิผลของโครงการ = ผลลัพธ์ที่ทาได้ x 100เป้าหมายที่กาหนดไว้ = 100 x 100100 = 100 ดังนั้น สรุปได้ว่า การดาเนินโครงการในวัตถุประสงค์นี้บรรลุเป้าหมาย 3.2 เป้าหมาย หลังการสาธิตการออกกาลังกายด้วยผ้าขาวม้า และสมาธิบาบัด SKT ร้อยละ 100 ของแกนนา (100/1008 = 8 คน) สามารถสาธิตย้อนกลับการออกกาลังกายด้วยผ้าขาวม้า และสมาธิบาบัด SKT ได้ถูกต้องทุกท่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสร้างแกนนาในการออกกาลังกายฯ จานวนทั้งสิ้น 8 คน สามารถสาธิตย้อนกลับการออกกาลังกายด้วยผ้าขาวม้า และสมาธิบาบัดแบบ SKT ได้ถูกต้องทุกท่า จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และสามารถคานวณประสิทธิผลได้ ดังนี้ประสิทธิผลของโครงการ = ผลลัพธ์ที่ทาได้ x 100เป้าหมายที่กาหนดไว้ = 100 x 100100 = 100 ดังนั้น สรุปได้ว่า การดาเนินโครงการในวัตถุประสงค์นี้บรรลุเป้าหมาย วัตถุประสงค์ที่ 4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เป้าหมาย หลังสิ้นสุดโครงการ ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ (80/10055 = 44 คน) มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีผู้เข้าร่วมการประเมินความพึงพอใจจานวนทั้งสิ้น 40 คน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สามารถคานวณประสิทธิผลได้ดังนี้ ประสิทธิผลของโครงการ = ผลลัพธ์ที่ทาได้ x 100เป้าหมายที่กาหนดไว้ =100 x 10080 = 125* *คือ ประสิทธิผลของโครงการที่คิดจากจานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง แต่จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ได้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ (44 คน) โดยขาดไป 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.09 ดังนั้น สรุปได้ว่า การดาเนินโครงการในวัตถุประสงค์นี้บรรลุเป้าหมาย รายละเอียดความพึงพอใจปรากฏตามตารางที่ 6 การประเมินความพึงพอใจโครงการ “ทอนคลองกินดี ชีวีมีสุข ต้านทุกข์ด้วยการออกกาลังกาย” จากการดาเนินโครงการในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2563 โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชนหมู่ 9 บ้านทอนคลอง ตาบลโคกม่วง อาเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา ที่มีอายุมากกว่า 15 ปี จานวน 64 คน มีการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินความพึงพอใจ จานวน 40 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสมกับโรค เพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรัง ควบคุมความรุนแรงของโรคเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถตอบคำถาม เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง และเหมาะสมได้ 6 ใน 10 ข้อ 2. ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประสบการณ์จากกิจกรรม “น้ำยาหรอย ถอยห่างโรค” และการถ่ายทอดการดูแลตัวเองจากแขกรับเชิญ
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ออกกำลังกาย สามารถตอบคำถามเกี่ยวกับการออกกำลังกายที่ถูกต้องได้ 3 ใน 5 ข้อ 2.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกกำลังกาย สามารถสาธิตย้อนกลับการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า และ SKT ได้ถูกต้องทุกท่า
0.00

 

3 3. เพื่อสร้างแกนนำในการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า และ SKT
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 ของแกนนำมีความรู้ในการออกกำลังกาย 2.ร้อยละ 100 ของแกนนำมีทักษะในการออกกำลังกายสามารถสาธิตย้อนกลับการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า และ SKT ได้ถูกต้องทุกท่า
0.00

 

4 4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสมกับโรค เพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรัง ควบคุมความรุนแรงของโรคเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง (2) 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง (3) 3. เพื่อสร้างแกนนำในการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า และ SKT (4) 4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh