กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ โครงการบริหารจัดการขยะ ชุมชนบ้านท่ามิหรำ ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสุพิศ ขณะรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการขยะ ชุมชนบ้านท่ามิหรำ

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 020442560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการขยะ ชุมชนบ้านท่ามิหรำ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการขยะ ชุมชนบ้านท่ามิหรำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการขยะ ชุมชนบ้านท่ามิหรำ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 020442560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559 เห็นชอบแผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทางประชารัฐ ระยะ 1 ปี 2559-2560 ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอ และมอบหมายให้กระทรวงมหาดไทย กำกับดูแลงานให้จังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยตามแผนปฏิบัติการฯ 3 ระยะ ได้แก่ (1) ระยะต้นทาง คือการลดปริมาณขยะมูลฝอยและมีการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ครัวเรือน สถานที่ราชการ สถานที่สาธารณะ และสถานประกอบการ (2) ระยะกลางทาง คือ การเก็บและขนที่มีประสิทธิภาพ และ(3) ระยะปลายทาง คือการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องตามหลักวิชาการมีประสิทธิภาพ และเกิดผลเป็นรูปธรรม โดยมุ่งดำเนินการใน 2 ระยะแรก บนพื้นฐานแนวคิด 3R เพื่อลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอยและขยะอันตรายโดยส่งเสริมให้เกิดกลไกการคัดแยกและนำขยะมูลฝอยและขยะอันตรายกลับมาใช้ประโยชน์ และเพื่อเพิ่มมูลค่าที่ระยะต้นทาง และระยะกลางทาง คือการจัดทำระบบเก็บและขนที่มีประสิทธิภาพ เพียงพอและสอดคล้องกับสถานการณ์ขยะในพื้นที่ เพื่อนำไปสู่การจัดการขยะมูลฝอยในระยะปลายทางอย่างมีประสิทธิภาพต่อไปในอนาคต กระทรวงมหาดไทยได้จัดทำ แนวทางการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งเน้นการลดและการคัดแยกขยะมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด และจัดระบบการเก็บและขนขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพ ภายใต้หลักการ ๓Rsและหลักการประชารัฐ เพื่อสนับสนุนมติคณะรัฐมนตรีและแนวทางการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ของจังหวัดพัทลุง และเพื่อลดขยะมูลฝอยในชุมชนซึ่งมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นทุกวัน จนเป็นภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆที่เกิดจากมลภาวะและสิ่งแวดล้อม ชุมชนบ้านนางลาดจึงขอเสนอโครงการการบริหารจัดการขยะ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ในเรื่องการบริหารจัดการขยะตามหลักการ ๓Rsให้ประชาชนในชุมชนทราบ ข้อที่ 2 (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกและให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะให้ครบวงจรและถูกวิธี ข้อที่ 3เพื่อสร้างวินัยให้แก่ประชาชนในชุมชน ในการมีส่วนร่วมลดและคัดแยกขยะต้นทาง ตามหลักการ๓Rs ข้อที่ 4 เพื่อฝึกกระบวนการคิดวิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไขปัญหาขยะในชุมชนร่วมกัน ข้อที่ 5 เพื่อลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ในครัวเรือน โดยการนำขยะมูลฝอยมาเพิ่มมูลค่า เช่น การทำสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้การทำปุ๋ยหมัก การทำปุ๋ยชีวภาพ การปลูกผัก การเลี้ยงไส้เดือนฯลฯ ข้อที่ 6 เพื่อลดภาวะโลกร้อนที่เกิดจากขยะมูลฝอยที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นทุกวัน จนเป็นภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆที่เกิดจากมลภาวะและสิ่งแวดล้อม ข้อที่ 7 เพื่อปรับภูมิทัศน์ในชุมชนให้เป็นชุมชนน่าอยู่น่าอาศัยและเป็นชุมชนเข้มแข็งต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน เพื่อกำหนดรูปแบบและแนวทางในการขับเคลื่อนโครงการ
  2. ประชุมแกนนำและสมาชิกในชุมชน เพื่อกำหนดมาตรการทางสังคม และประชาสัมพันธ์โครงการ
  3. อบรมสมาชิกในชุมชน เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการคัดแยกขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

(๑) ประชาชนในชุมชน ได้รับรู้ชุมชนจะดำเนินการเรื่องการบริหารจัดการขยะตามหลักการ ๓Rs (2) ประชาชนในชุมชน มีจิตสำนึกและมีความรู้ในเรื่องการบริหารจัดการขยะให้ครบวงจรและถูกวิธี (3) ประชาชนในชุมชนมีวินัยในการมีส่วนร่วมลดและคัดแยกขยะต้นทาง ตามหลักการ๓Rs (4)ประชาชนในชุมชนได้รับการฝึกกระบวนการคิดวิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไขปัญหาขยะในชุมชนร่วมกัน (5) ประชาชนในชุมชน มีวิธี/ช่องทางในการเพิ่มรายได้และลดรายจ่าย (5) ประชาชนในชุมชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้นและมีรายจ่ายลดลง โดยการนำขยะมูลฝอยมาเพิ่มมูลค่า เช่น การทำ สิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้การทำปุ๋ยหมัก การทำปุ๋ยชีวภาพ การปลูกผัก การเลี้ยงไส้เดือนฯลฯ (6) สภาวะโลกร้อนลดลง ทำให้ประชาชนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดจากมลภาวะและ สิ่งแวดล้อม
(7) ชุมชนมีภูมิทัศน์ที่น่าอยู่น่าอาศัยและเป็นชุมชนเข้มแข็งต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน เพื่อกำหนดรูปแบบและแนวทางในการขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 6 สิงหาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกำหนดแนวทางการขับเคลื่อนโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กำหนดจัดกิจกรรมในวันที่ 17 ส.ค. 2560

 

20 0

2. ประชุมแกนนำและสมาชิกในชุมชน เพื่อกำหนดมาตรการทางสังคม และประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 13 สิงหาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแกนนำและสมาชิกในชุมชน เพื่อกำหนดมาตรการทางสังคม และประชาสัมพันธ์โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กำหนดมาตรการทางสังคมด้านการจัดการขยะให้สมาชิกในชุมชนได้รับทราบและถือปฏิบัติ

 

50 0

3. อบรมสมาชิกในชุมชน เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการคัดแยกขยะ

วันที่ 17 สิงหาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

อบรมสมาชิกในชุมชน เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนในชุมชนจำนวน 100 คน คิดเป็น 77 ได้รับความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะต้นทาง การทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อใช้ในครัวเรือน และถ่ายทอดความรู้ให้กับสมาชิกในครอบครัว
  2. ประชาชนในชุมชนมีจิตสำนึกและมีความรู้ในเรื่องการบริหารจัดการขะให้ครบวงจรและถูกวิธี
  3. ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดและคัดแยกขยะต้นทาง
  4. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการคิดวิเคราะห์หาแนวทางแก้ไขปัญหาขยะในชุมชนร่วมกัน
  5. ประชาชนได้กำจัดขยะมูลฝอยและสามารถเพิ่มรายได้จากการคัดแยกขยะ
  6. ประชาชนเรียนรู้วิธีการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษขยะในครัวเรือนและสามารถนำไปใช้ในครัวเรือนแทนการใช้สารเคมี
  7. ช่วยลดสภาวะโลกร้อน เนื่องจากชุมชนรณรงค์และลดการใช้ถุงพลาสติกและกล่องโฟมทำให้ลดปริมาณขยะและป้องกันการเกิดโรคจากมลภาวะต่างๆ

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ในเรื่องการบริหารจัดการขยะตามหลักการ ๓Rsให้ประชาชนในชุมชนทราบ ข้อที่ 2 (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกและให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะให้ครบวงจรและถูกวิธี ข้อที่ 3เพื่อสร้างวินัยให้แก่ประชาชนในชุมชน ในการมีส่วนร่วมลดและคัดแยกขยะต้นทาง ตามหลักการ๓Rs ข้อที่ 4 เพื่อฝึกกระบวนการคิดวิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไขปัญหาขยะในชุมชนร่วมกัน ข้อที่ 5 เพื่อลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ในครัวเรือน โดยการนำขยะมูลฝอยมาเพิ่มมูลค่า เช่น การทำสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้การทำปุ๋ยหมัก การทำปุ๋ยชีวภาพ การปลูกผัก การเลี้ยงไส้เดือนฯลฯ ข้อที่ 6 เพื่อลดภาวะโลกร้อนที่เกิดจากขยะมูลฝอยที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นทุกวัน จนเป็นภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆที่เกิดจากมลภาวะและสิ่งแวดล้อม ข้อที่ 7 เพื่อปรับภูมิทัศน์ในชุมชนให้เป็นชุมชนน่าอยู่น่าอาศัยและเป็นชุมชนเข้มแข็งต่อไป
ตัวชี้วัด : (๑) ประชาชนในชุมชนอย่างน้อย 70 % ได้รับรู้ว่าชุมชนจะดำเนินการเรื่องการบริหารจัดการขยะตามหลักการ ๓Rs (1)ประชาชนในชุมชน อย่างน้อย 80 % มีจิตสำนึกและมีความรู้ในเรื่องการบริหารจัดการขยะให้ครบวงจรและถูกวิธี (1) ประชาชนในชุมชนอย่างน้อย 80 % มีวินัยในการมีส่วนร่วมลดและคัดแยกขยะต้นทาง ตามหลักการ๓Rs (4)ประชาชนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฝึกกระบวนการคิดวิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไขปัญหาขยะในชุมชนร่วมกันอย่างน้อย 80 % (5) ประชาชนในชุมชน อย่างน้อย 60 % มีรายได้เพิ่มมากขึ้นและมีรายจ่ายลดลง โดยการนำขยะมูลฝอยมาเพิ่มมูลค่า เช่น การทำสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้การทำปุ๋ยหมัก การทำปุ๋ยชีวภาพ การปลูกผัก การเลี้ยงไส้เดือนฯลฯ (6) สภาวะโลกร้อนลดลง ทำให้ประชาชนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดจากมลภาวะและสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 80 % (7) ชุมชนมีภูมิทัศน์ที่น่าอยู่น่าอาศัยและเป็นชุมชนเข้มแข็ง อย่างน้อย 80 %

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ในเรื่องการบริหารจัดการขยะตามหลักการ ๓Rsให้ประชาชนในชุมชนทราบ ข้อที่ 2 (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกและให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะให้ครบวงจรและถูกวิธี ข้อที่ 3เพื่อสร้างวินัยให้แก่ประชาชนในชุมชน ในการมีส่วนร่วมลดและคัดแยกขยะต้นทาง ตามหลักการ๓Rs ข้อที่ 4 เพื่อฝึกกระบวนการคิดวิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไขปัญหาขยะในชุมชนร่วมกัน ข้อที่ 5 เพื่อลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ในครัวเรือน โดยการนำขยะมูลฝอยมาเพิ่มมูลค่า เช่น การทำสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้การทำปุ๋ยหมัก การทำปุ๋ยชีวภาพ การปลูกผัก การเลี้ยงไส้เดือนฯลฯ ข้อที่ 6 เพื่อลดภาวะโลกร้อนที่เกิดจากขยะมูลฝอยที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นทุกวัน จนเป็นภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆที่เกิดจากมลภาวะและสิ่งแวดล้อม

ข้อที่ 7 เพื่อปรับภูมิทัศน์ในชุมชนให้เป็นชุมชนน่าอยู่น่าอาศัยและเป็นชุมชนเข้มแข็งต่อไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน เพื่อกำหนดรูปแบบและแนวทางในการขับเคลื่อนโครงการ (2) ประชุมแกนนำและสมาชิกในชุมชน เพื่อกำหนดมาตรการทางสังคม และประชาสัมพันธ์โครงการ (3) อบรมสมาชิกในชุมชน เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการคัดแยกขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการขยะ ชุมชนบ้านท่ามิหรำ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 020442560

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุพิศ ขณะรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด