กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน


“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี พัฒนาการสมัย ใส่ใจสุขภาพในช่องปาก ปี2564 ”

จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรีนา ลักขณา

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี พัฒนาการสมัย ใส่ใจสุขภาพในช่องปาก ปี2564

ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4147-02-03 เลขที่ข้อตกลง 64-L4147-02-03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดี พัฒนาการสมัย ใส่ใจสุขภาพในช่องปาก ปี2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี พัฒนาการสมัย ใส่ใจสุขภาพในช่องปาก ปี2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดี พัฒนาการสมัย ใส่ใจสุขภาพในช่องปาก ปี2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4147-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 716 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พัฒนาการของมนุษย์เป็นขบวนการที่เปลี่ยนแปลงพัฒนาเป็นขั้นตอนอย่างต่อเนื่องและมีรูปแบบเฉพาะ กล่าวคือพัฒนาการจะเริ่มจากส่วนศีรษะไปส่วนขา ทารกจะเริ่มมีพัฒนาการตั้งแต่แรกเกิดเป็นต้นไปซึ่งระยะแรกเกิด จะช่วยเหลือตนเองไม่ได้จะต้องอาศัยบุคคลภายนอก โดยเฉพาะพ่อแม่ให้การช่วยเหลือด้านอาหาร ให้ความรักความอบอุ่น ดูแลเอาใจใส่ให้ทารกมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกด้านต่างๆ ซึ่งพัฒนาการแบ่งตามช่วงอายุ 5 ด้าน ดังนี้ พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา ด้านการเข้าใจภาษา ด้านการใช้ภาษา และด้านการช่วยเหลือตัวเองและสังคม และยังพบปัจจัยว่า สภาพครอบครัว สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ทั้งที่เป็นบุคคลและสิ่งของ ฯลฯ มีส่วนช่วยเสริมสร้างพัฒนาการให้แก่เด็กนำประสบการณ์มาแก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิตหรือเชาว์ปัญญาได้ นอกจากนี้ ภาวะโภชนาการของเด็กก็เป็นสิ่งสำคัญควบคู่ไปกับพัฒนาการเด็ก การมีภาวะโภชนาการที่ดีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงชีวิตเด็ก โดยเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ การวางแผนพื้นฐานให้เด็กสามารถพัฒนาศักยภาพตนเองได้อย่างเต็มที่ การขาดโภชนาการที่ดีกีดขวางการเจริญเติบโตของเด็ก ส่งผลทำให้เด็กมีพัฒนาการช้าตามมา

ดังนั้น การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการกระตุ้นพัฒนาการเด็กตั้งแต่แรก จึงมีความสำคัญและจำเป็นมากที่ผู้ใหญ่จะให้แก่เด็ก แต่ปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาก สภาพครอบครัวการเลี้ยงดูเด็กก็เปลี่ยนแปลงไปเช่นกัน จากเดิมผู้เลี้ยงเป็น พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ซึ่งมีสายสัมพันธ์กับเด็ก จะเลี้ยงเด็กด้วยความรักและผูกพันอยู่กับบ้าน กลายเป็นการนำเด็กไปฝากเลี้ยง ตามสถานเลี้ยงเด็กต่าง ๆ ในตอนเช้าและรับกลับตอนเย็น หากเป็นเช่นนี้ ช่วงเวลาที่พ่อ แม่ ลูก ได้พบกันเป็นช่วงเวลาที่ต่างคนต่างเหน็ดเหนื่อย จึงทำให้พ่อ แม่ ขาดโอกาสในการกระตุ้นพัฒนาการลูกรัก โดยเฉพาะครอบครัวที่ไม่เห็นความสำคัญด้านนี้ อนึ่ง กาลเวลา อายุของเด็ก ไม่สามารถจะหวนกลับมาอีกได้ โดยเฉพาะระยะเวลาแรกเกิดถึง 5 ปี ซึ่งเป็นช่วงวัยทองของพัฒนาการเด็กและจำเป็นต้องส่งเสริมเด็กให้มีภาวะโภชนาการปกติและมีพัฒนาการสมวัย

จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากรายงานโภชนาการ งวดที่ 4 (กรกฎาคม-กันยายน) ปี 2563 พบว่าเด็กอายุ 0-5 ปี มีส่วนสูงดีรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 73.09 และเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการร้อยละ 6.93 มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 99.86 ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลบาโงยซิแน ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน เห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กและเพื่อเป็นการลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน จึงจัดทำโครงการหนูน้อยสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ปี 2564 ขึ้น เพื่อให้เด็กมีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐานและมีการพัฒนาการตามวัย ซึ่งนำไปสู่การพัฒนาประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปีมีความรู้ด้านโภชนาการและสามารถเลี้ยงดูบุตรได้ถูกต้อง
  2. เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า 6 ปีมีรูปร่างสมส่วนใน ปี2564
  3. เพื่อให้เด็กอายุ 9 18 30 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การอบรมและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
  2. กิจกรรมที่ 2 การประกอบอาหารที่มีประโยชน์และจ่ายอาหารเสริมสำหรับเด็ก
  3. กิจกรรมที่ 3 การประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 716
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ในเรื่องโภชนาการและสามารถเลี้ยงดูบุตรได้ถูกต้อง มีพฤติกรรมที่ถูกต้องสามารถถ่ายทอดความรู้ไปยังเพื่อนบ้านได้และเด็กมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีพัฒนาการที่สมวัย ฉลาด เป็นกำลังสำคัญของชาติต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปีมีความรู้ด้านโภชนาการและสามารถเลี้ยงดูบุตรได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ปกครองเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปีมีความรู้ด้านโภชนาการและสามารถเลี้ยงดูบุตรได้ถูกต้อง
70.00 80.00

 

2 เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า 6 ปีมีรูปร่างสมส่วนใน ปี2564
ตัวชี้วัด : เด็กอายุต่ำกว่า 6 ปีมีรูปร่างสมส่วนใน ปี 2564 ร้อยละ 80
73.09 80.00

 

3 เพื่อให้เด็กอายุ 9 18 30 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 9 18 30 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80
85.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 716
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 716
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปีมีความรู้ด้านโภชนาการและสามารถเลี้ยงดูบุตรได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า 6 ปีมีรูปร่างสมส่วนใน ปี2564 (3) เพื่อให้เด็กอายุ 9 18 30 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การอบรมและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (2) กิจกรรมที่ 2 การประกอบอาหารที่มีประโยชน์และจ่ายอาหารเสริมสำหรับเด็ก (3) กิจกรรมที่ 3 การประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยสุขภาพดี พัฒนาการสมัย ใส่ใจสุขภาพในช่องปาก ปี2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4147-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรีนา ลักขณา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด