กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด


“ โครงการเด็กปลอดภัยเมื่อติดในรถ ”

ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเพ็ญพิชชา นวลสนอง

ชื่อโครงการ โครงการเด็กปลอดภัยเมื่อติดในรถ

ที่อยู่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L7577-3-20 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤษภาคม 2564 ถึง 28 พฤษภาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กปลอดภัยเมื่อติดในรถ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปลอดภัยเมื่อติดในรถ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กปลอดภัยเมื่อติดในรถ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L7577-3-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤษภาคม 2564 - 28 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อ้างถึงหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่ มท 0816.4/ว 5048 ลงวันที่ 27 สิงหาคม 2563 หนังสือจังหวัดพัทลุง ด่วนที่สุด ที่ พท 0023.3/ว 5233 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2563 และหนังสือเทศบาลตำบลตะโหมด ที่ พท 52704/ ลงวันที่ 2 กันยายน 2563 ตามที่เทศบาลตำบลตะโหมดได้แจ้งจังหวัดพัทลุงได้ขอความร่วมมือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่งให้ดำเนินการจัดกิจกรรมซักซ้อมแนวทางการป้องกันและดูแลความปลอดภัยในการรับ - ส่งเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่ง ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการเพื่อป้องกันและดูแลความปลอดภัยในการรับ - ส่งเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายละเอียดตามหนังสือที่อ้างถึง นั้นกระทรวงมหาดไทยพิจารณาแล้วเห็นว่า เพื่อให้ทางการป้องกันและดูแลความปลอดภัยในการรับ - ส่งเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงขอความร่วมมือจังหวัดแจ้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่ง ดำเนินการจัดกิจกรรมซักซ้อมแนวทางการป้องกันและดูแลความปลอดภัยในการรับ – ส่งเด็กนักเรียน ในช่วงอาทิตย์แรกของการเปิดภาคเรียน ในทุกภาคเรียน โดยกิจกรรมดังกล่าว ประกอบด้วย 1. การตรวจนับจำนวนเด็กนักเรียนที่ขึ้นรถและลงรถรับ - ส่ง เพื่อป้องกันกรณีการลืมเด็กนักเรียนไว้ในรถรับ - ส่ง 2. การขอความช่วยเหลือเบื้องต้น เพื่อเด็กนักเรียนสามารถมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองในกรณีที่ติดอยู่ในรถรับ - ส่ง เช่นการกดแตรสัญญาณในรถ และวิธีการเปิดประตูรถหรือเปิดกระจกรถ เป็นต้น 3. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถช่วยเหลือเด็กนักเรียนที่ประสบเหตุได้ในเบื้องต้น ก่อนนำเด็กส่งโรงพยาบาล ด้วยสาเหตุดังกล่าวศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดเล็งเห็นว่าควรให้ความรู้แก่เด็กปฐมวัยในสังกัด เพื่อที่เด็กจะได้ช่วยเหลือตนเองเมื่อติดอยู่ในรถยนต์ อีกทั้งเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุสลดจนมีความสูญเสียขึ้นอีก แม้นว่าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดจะไม่มีการให้บริการรถรับ - ส่งเด็ก แต่เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว จึงต้องป้องกันก่อนจะเกิดเหตุ โดยสอนให้เด็กได้เรียนรู้ระบบการทำงานของรถยนต์เท่าที่จำเป็น เฉพาะเพื่อเอาตัวรอด ประกอบด้วย แนะนำเกี่ยวกับระบบเซ็นทรัลล็อคของรถยนต์ แนะนำเกี่ยวกับการลดกระจก การใช้สัญญาณไฟฉุกเฉิน การใช้แตร และปลูกฝังให้เด็กมีน้ำใจรู้จักช่วยเหลือผู้อื่น แนะนำให้เด็กมีความพยายามในการที่จะช่วยตนเองมีความอดทนในการกดแตรรถ จนกว่าจะมีคนมาช่วยเปิดประตูรถให้ และให้เด็กลองปฏิบัติจริง พร้อมกันนั้นเป็นการสร้างองค์ความรู้ให้แก่ผู้ปกครอง,บุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเรื่องดังกล่าว เพื่อให้ผู้ปกครอง,บุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบเหตุได้ในเบื้องต้น ก่อนนำเด็กส่งโรงพยาบาลได้ และให้ทุกคนมีสติมีความรอบคอบมีความรับผิดชอบในความปลอดภัยของเด็กอยู่ตลอด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้การเอาตัวรอดโดยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งเมื่อติดอยู่ในรถยนต์
  2. เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีให้แก่เด็ก
  3. เพื่อให้ผู้ปกครอง,บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด รู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก และสามารถทำการการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพขั้นพื้นฐานได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 268
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดสามารถเอาตัวรอดโดยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งได้อย่างปลอดภัยเมื่อติดอยู่ในรถยนต์
  2. เด็กมีจิตสำนึกที่ดี รู้จักห่วงใยผู้อื่น
  3. ผู้ปกครอง,บุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบเหตุในเบื้องต้น ก่อนนำส่งโรงพยาบาลได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้การเอาตัวรอดโดยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งเมื่อติดอยู่ในรถยนต์
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 95% สามารถเอาตัวรอดโดยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งได้อย่างปลอดภัยเมื่อติดอยู่ในรถยนต์ และมีจิตใจที่ดีมีความห่วงใยผู้อื่น
10.00 2.00

 

2 เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีให้แก่เด็ก
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 95% มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีน้ำใจช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เกิดเป็นความรัก ความสามัคคี
10.00 2.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครอง,บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด รู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก และสามารถทำการการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพขั้นพื้นฐานได้
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง, บุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 95% รู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก และสามารถทำการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพขั้นพื้นฐานได้
10.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 268
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 268
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้การเอาตัวรอดโดยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งเมื่อติดอยู่ในรถยนต์ (2) เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีให้แก่เด็ก (3) เพื่อให้ผู้ปกครอง,บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด รู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก และสามารถทำการการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพขั้นพื้นฐานได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กปลอดภัยเมื่อติดในรถ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L7577-3-20

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเพ็ญพิชชา นวลสนอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด