โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564 ”
ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์แพทย์ชุมชนโรงพยาบาลควนขนุน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองพ้อ
สิงหาคม 2564
ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564
ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3315-01-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองพ้อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3315-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2563 - 30 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,310.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองพ้อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุงย้อนหลัง 5 ปี ปีงบประมาณ 2559 – 2563 พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวานร้อยละ 32.31, 31.63, 23.68, 31.33, 22.85 ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยงความดัน ร้อยละ 55.39, 48.62, 51.28, 24.87, 24.67 ตามลำดับ จากการวิเคราะห์พบว่ากลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงความดันดลหิตสูงมีแนวโน้มลดลง
อุบัติการณ์การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไม่มีแนวโน้มที่จะลดลง และบางปีก็เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และกลุ่มที่คัดกรองแล้วพบว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคจำนวนมาก ซึ่งกลุ่มนี้จำเป็นต้องได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเฝ้าระวังการป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงกลายเป็นกลุ่มผู้ป่วยรายใหม่ ดังสถิติตามตารางด้านล่าง
ปีพ.ศ. เบาหวานรายใหม่ (แสนประชากร) ความดันรายใหม่ (แสนประชากร)
2559 555.98 1,073.62
2560 363.05 806.78
2561 482.35 906.81
2562 383.19 1,065.74
2563 238.98 1,170.59
ดังนั้นการคัดกรองและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีเป้าหมายสำคัญคือ สร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จึงเน้นกิจกรรมในส่วนของงานบริการเชิงรุก โดยการตรวจค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มต้น ให้การวินิจฉัยโรคในระยะเริ่มต้น รวมทั้งการปรับพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานด้วยตนเอง เพื่อป้องกันโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ต่อไป ศูนย์แพทย์ชุมชนโรงพยาบาลควนขนุนร่วมกันกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลหนองพ้อ จึงได้จัดทำโครงการ ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิต 2564
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
1,231
กลุ่มผู้สูงอายุ
898
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
- ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิต 2564
วันที่ 8 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
- กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
1.1 จัดทำฐานข้อมูลประชากร 35 ปีขึ้นไป
1.2 จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงให้เป็นปัจจุบันและติดตามต่อเนื่อง
1.3 จัดซื้ออุปกรณ์สำหรับตรวจน้ำตาลในเลือดและอุปกรณ์วัดส่วนสูง
1.4 การดำเนินกิจกรรม
- คัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
- ให้ความรู้ในกลุ่มปกติ เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปัจจัยเสี่ยง 3อ. 2ส. ให้ความรู้ผ่านแผ่นพับ
- แจ้งผลการคัดกรอง และการปฏิบัติตัวตามความเสี่ยงของแต่ละบุคคลผ่านใบแจ้งผลการคัดกรอง
2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยโรค
1.1 กิจกรรมย่อย ครั้งที่ 1
- ประเมินความรู้ การปฏิบัติตัว และพฤติกรรม 3อ.2ส. ก่อนรับการอบรม
- ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2ส. (การออกกำลังกาย การบริโภค การจัดการอารมณ์ บุหรี่และสุรา) และการอ่านฉลากโภชนาการ
- การตั้งเป้าหมายการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2.2 กิจกรรมย่อย ครั้งที่ 2
- ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเรื่องการวัดความดัน การวัดรอบเอว การคำนวณดัชนีมวลกาย และการแปลผล
- กิจกรรมฐานการเรียนรู้เรื่อง อาหารหวาน มัน เค็ม การคำนวณน้ำหนักตัวที่เหมาะสม และพลังงานที่ควรได้รับแต่ละวันและการกระจายมื้ออาหาร
- ประเมินความรู้ การปฏิบัติตัว และพฤติกรรม 3อ.2ส. หลังรับการอบรม
- นัดหมายการทำกิจกรรมในครั้งต่อไป
2.3 กิจกรรมย่อย ครั้งที่ 3
-. แกนนำติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ประเมินตรวจร่างกาย (ดัชนีมวลกาย รอบเอว ระดับความดันโลหิต)
- ติดตามประเมินพฤติกรรม 3อ. 2ส. และให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. 2ส.
- สรุปผลการเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
3. กิจกรรมติดตามกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานและติดตามกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงโดยการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (HMBP)
3.1 แกนนำติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง พร้อมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. 2ส.
3.2 ให้กลุ่มสงสัยโรคความดันโลหิตสูงวัดความดันด้วยตนเองที่บ้าน (HMBP) ติดต่อกันเป็นเวลา 7 วัน และประเมินผลการวัดความดันโลหิตที่บ้าน (HMBP)
3.3 ติดตามกลุ่มสงสัยโรคความดันที่ได้รับการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (HMBP) ที่ค่าเฉลี่ยความดันโลหิต ≤138/85 mmHg พบแพทย์เพื่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
3.4 ติดตามกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานให้ได้รับการตรวจFBSซ้ำและ ผลFBS มากกว่า125 mg/dl ติดต่อกัน 2 ครั้งติดตามให้พบแพทย์เพื่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง
2,129
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564
ตัวชี้วัด : 1 คัดกรองเบาหวานได้ร้อยละ90
2 คัดกรองความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 90
3.ร้อยละประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลงจากปีงบประมาณ ร้อยละ 5
4.ร้อยละประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลงจากปีงบประมาณ ร้อยละ 5
5 ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม ร้อยละ 60
6. ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานได้รับการติดตาม รอยละ 60
2129.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
2129
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
1,231
กลุ่มผู้สูงอายุ
898
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิต 2564
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3315-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ศูนย์แพทย์ชุมชนโรงพยาบาลควนขนุน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564 ”
ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์แพทย์ชุมชนโรงพยาบาลควนขนุน
สิงหาคม 2564
ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3315-01-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองพ้อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3315-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2563 - 30 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,310.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองพ้อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุงย้อนหลัง 5 ปี ปีงบประมาณ 2559 – 2563 พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวานร้อยละ 32.31, 31.63, 23.68, 31.33, 22.85 ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยงความดัน ร้อยละ 55.39, 48.62, 51.28, 24.87, 24.67 ตามลำดับ จากการวิเคราะห์พบว่ากลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงความดันดลหิตสูงมีแนวโน้มลดลง
อุบัติการณ์การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไม่มีแนวโน้มที่จะลดลง และบางปีก็เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และกลุ่มที่คัดกรองแล้วพบว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคจำนวนมาก ซึ่งกลุ่มนี้จำเป็นต้องได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเฝ้าระวังการป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงกลายเป็นกลุ่มผู้ป่วยรายใหม่ ดังสถิติตามตารางด้านล่าง
ปีพ.ศ. เบาหวานรายใหม่ (แสนประชากร) ความดันรายใหม่ (แสนประชากร)
2559 555.98 1,073.62
2560 363.05 806.78
2561 482.35 906.81
2562 383.19 1,065.74
2563 238.98 1,170.59
ดังนั้นการคัดกรองและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีเป้าหมายสำคัญคือ สร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จึงเน้นกิจกรรมในส่วนของงานบริการเชิงรุก โดยการตรวจค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มต้น ให้การวินิจฉัยโรคในระยะเริ่มต้น รวมทั้งการปรับพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานด้วยตนเอง เพื่อป้องกันโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ต่อไป ศูนย์แพทย์ชุมชนโรงพยาบาลควนขนุนร่วมกันกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลหนองพ้อ จึงได้จัดทำโครงการ ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิต 2564
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 1,231 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 898 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
- ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิต 2564 |
||
วันที่ 8 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
2,129 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564 ตัวชี้วัด : 1 คัดกรองเบาหวานได้ร้อยละ90 2 คัดกรองความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 90 3.ร้อยละประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลงจากปีงบประมาณ ร้อยละ 5 4.ร้อยละประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลงจากปีงบประมาณ ร้อยละ 5 5 ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม ร้อยละ 60 6. ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานได้รับการติดตาม รอยละ 60 |
2129.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2129 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 1,231 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 898 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิต 2564
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3315-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ศูนย์แพทย์ชุมชนโรงพยาบาลควนขนุน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......