กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งระบบกักกันตัวผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคโควิด-19ระดับพื้นที่ (LQ) อบต.นาประดู่
รหัสโครงการ 64-L2981-5-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อบต.นาประดู่ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี
วันที่อนุมัติ 28 มิถุนายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 28 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 46,502.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลก้อเดช โต๊ะยะลา
พี่เลี้ยงโครงการ นายอับดุลก้อเดช โต๊ะยะลา
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.679131,101.146002place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (46,502.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ในพื้นที่ จังหวัดปัตตานีระลอกใหม่ ตั้งแต่ช่วงเดือนเมษายนจวบจนปัจจุบัน มีอัตราการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว และเป็นวงกว้าง ส่งผลให้มีจำนวนผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) เป็นจำนวนมากและเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง กระจายออกไปในหลายพื้นที่ การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและโรงพยาบาลสนามนั้นจำเป็นต้องใช้เพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วยยืนยันแล้วเท่านั้น ไม่สามารถรับผู้ที่มีความเสี่ยงหรือสัมผัสผู้ติดเชื้อยืนยันเข้ารับการกักกันตัวที่โรงพยาบาลได้ เนื่องจากจำนวนที่มากเกินอัตรากำลังของโรงพยาบาล นอกจากนี้สถานการณ์ของบุคคลที่ไปทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน มีแนวโน้มว่าจะต้องถูกผลักดัน ให้กลับประเทศ ทางอำเภอได้มีการประสานให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสถานกักกันตัวแบบพื้นที่ในระดับตำบล หรือ Local Quarantine (LQ) เพื่อรองรับและใช้ในการกักตัวเพื่อเฝ้าระวังและสังเกตอาการบุคคลที่มีความเสี่ยงหรือสัมผัสกับผู้ติดเชื้อยืนยัน และผู้ที่เดินทางมาจากประเทศเพื่อนบ้านขึ้น
องค์การบริหารส่วนตำบลนาประดู่ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการจัดตั้งระบบกักกันตัวผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคโควิด-19ระดับพื้นที่ (LQ) อบต.นาประดู่ ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อจัดบริการสถานที่กักกันตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงใน LQ

ร้อยละของบุคคลที่มีความเสี่ยงได้รับการกักตัว

100.00
2 2. เพื่อคัดกรองบุคคลที่เดินทางจากนอกพื้นที่และประเทศเพื่อนบ้าน

ร้อยละของบุคคลที่เดินทางจากนอกพื้นที่และประเทศเพื่อนบ้านคัดกรอง

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 46,502.00 1 46,502.00
28 มิ.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 จัดตั้งระบบกักกันตัวผู้ที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงหรือสัมผัสผู้ติดเชื้อ 0 46,502.00 46,502.00
  1. ร่วมกันประชุมและวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและ รูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ
  2. แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ
  3. ติดต่อประสานงานหน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน
  4. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาประดู่
  5. ดำเนินการตามกิจกรรม
  6. สรุปผลการดำเนินงาน และรายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด 19

  2. ผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้รับการกักตัวร้อยละ 100

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 พ.ย. 2563 16:20 น.