กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย


“ โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2560 ”

ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสมคิด สงขาว ประธาน ชมรม อสม.รพสต.บ้านทุ่งชุมพล

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3348-2-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3348-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ของจังหวัดพัทลุง มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นจำนวนมากก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม จังหวัดพัทลุงได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้นพปัญหาโรคไช้เลือดออกมากำหนดเป็นนโยบายหลักในการดำเนินงาน โดยสถานที่สาธารณสุขทุกแห่งจะต้องร่วมมือกับชุมชน ดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ครอบคลุมทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของจังหวัดพัทลุง ปี พ.ส.2559 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 ถึง 31 ธันวาคม 2559 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น 754 ราย ส่วนใหญ่พบในกลุ่ม อายุ 10-14 ปี รองลงมาได้แก่กลุ่มอายุ 5-9 ปี อายุ 15-24 ปี อายุ 0-4 ปี และอายุ 24-34 ตามลำดับ อัตราส่วนอาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุด คือ นักเรียน จำนวน 291 ราย รองลงมา คือ อาชีพรับจ้าง สำหรับอำเภอป่าพะยอม มีอัตราผู้ป่วยเข้าเลือดออกสะสม (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2559) 96.70 ต่อแสนประชากร ดังนั้นเพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งชุมพล จึงได้จัดการทำโครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2560 เพื่อลดอัตราป่วย และอัตราด้วยโรคไข้เลือดออก (อ้างอิงข้อมูลจากงานระบาดวิทยาสนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชน ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนมีความตื่นตัวและตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก และร่วมมือกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ทำให้ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) ลดลงทำให้อัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้ลเลือดออกอยู่ในระดับที่ไม่เป็นปัญหาทางสาธารณสุข


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือกออก

    วันที่ 11 สิงหาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่ทีมควบคุมโรค (ทีมงาน SRRT) เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม.ผู้นำชุมชนและแกนนำครอบครัว เพื่อให้ความรู้และระดมความคิดเห็นในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในหมูบ้านอย่างครอบคลุมและต่อเนื่อง 2.จัดทำผนปฏิบัติการ และกรอบตัวชี้วัดความสำเร็จของงาน 3.เสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลลานข่อย เพื่อขออนุมัติ 4.จัดประชุม ทีมงาน SRRT และ อสม.ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 5.ประสานงานกับทีม SRRT และ อสม.แต่ละหมู่บ้านร่วมกับประชาชนทุกครัวเรือนในการรงณรงค์สสำรวจและทำลานแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุ่งลาย เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 5 หมู่บ้าน 1190 หลังคาเรือน วัด 1 แห่ง โรงเรียน 3 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 แห่ง และเทศบาล 1 แห่ง เพื่อหาค่า HI,CI c]t BI 6.ส่งเสริมให้ประชาชนใช้สมุนไพร ลดการใช้สารเคมี 7.ดำเนินการรณรงค์ตามผน พ่นหมอกควัน ปีละ 2 ครั้ง ละพ่นทุกครั้งที่มีการระบาด 8.จัดประกวด ครัวเรือน ปลอดลูกน้ำยุงลาย 9.นิเทศติดตาม เฝ้าระวังพฤติกรรมการควบคุมป้องกัน 10.ประเมินผล สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (HI) ไม่เกินร้อยละ 10 ค่า CI เท่ากับ 0

     

    50 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    • ประชนมีความรู้ มีการตื่นตัวและตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือกออก
    • ประชาชนให้ความร่วมมือกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ทำให้ค่าความชุกลูกน้ำยุงลาย (CI,HI) ลดลง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชน ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI) ไม่เกินร้อยละ 10 CI เท่ากับ 0

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชน ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3348-2-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมคิด สงขาว ประธาน ชมรม อสม.รพสต.บ้านทุ่งชุมพล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด