กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตให้ปกติ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตให้ปกติ ร้อยละ 70
250.00 175.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ ร้อยละ 45
50.00 23.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกิดภาวะแทรกซ้อน ไม่เกิน ร้อยละ 10
250.00 25.00

 

4 เพื่อให้ผุ้ป่วยโรคเบาหวานไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวาน เกิดภาวะแทรกซ้อน ไม่เกินร้อยละ 10
50.00 5.00

 

5 ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสื่อมระยะ 3 มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ค่าการทำงานของไตดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยทีมีภาวะไตเสี่อม เมื่อติดตามซ้ำ การทำงานของไตดีขึ้น ร้อยละ 60
40.00 24.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 340
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 340
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง  มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตให้ปกติ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน  มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน (4) เพื่อให้ผุ้ป่วยโรคเบาหวานไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน (5) ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสื่อมระยะ 3 มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  ค่าการทำงานของไตดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรับยาในคลีนิกโรคเรื้อรัง (2) กิจกรรมจ่ายยาโรคเรื้อรัง ติดตามผู้ป่วยที่ขาดนัด ตรวจเลือด ตรวจตา เอกซเรย์ปอด ตรวจช่องปาก และเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน (3) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคเรื้อร้งที่มีภาวะสุขภาพ เป็น 3 ประเภท ได้แก่ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะไตเสื่อ่มระยะ 3 (4) กิจกรรมการวัดความดันโลหิตสูง ซ้ำในผู้ป่่วยความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และผู้ป่่วยโรคเรื้อรังมีภาวะไตเสื่อมระยะ 3 ให้สามารถดูแลไตให้มีการทำงานที่ดีขึ้น โดยการเจาะเลือดซ้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh