กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์


“ โครงการตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน ประจำปี 2560 ”

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางปภาอร ชินสุนทรจิต

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2560-L7257-2-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2560 ถึง 15 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน ประจำปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2560-L7257-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2560 - 15 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,720.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภัยเงียบของโรค Metabotic โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคอัมพฤกษ์ – อัมพาต ได้คุกคามชีวิตของคนไทยจำนวนมาก ซึ่งเป็นสาเหตุของการป่วย พิการและเสียชีวิต ตลอดจนเป็นภาระด้านงบประมาณในการดูแลสุขภาพของคนไทยที่เพิ่มมากขึ้นในอนาคต ดังจะเห็นได้จากสถานบริการสาธารณสุขทั้งของภาครัฐ เอกชนและสถานบริการทุกระดับ ตั้งแต่ปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิ ต่างแออัดไปด้วยผู้ป่วยกลุ่มนี้ ส่งผลให้งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้สำหรับโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตามรายหัวประชากรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เพียงพอต่อการใช้จ่ายด้านยา บุคลากร การจัดสถานที่และเครื่องมือแพทย์ต่างๆ ในขณะที่งบประมาณของประเทศที่มีอยู่อย่างจำกัด กระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงมีมาตรฐานเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรค Metabolic โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคในกลุ่มเป้าหมายคือประชากรกลุ่มตัวอย่างอายุ 35 ปีขึ้นไปทุกคน ด้วยการสัมภาษณ์ โดยใช้แบบสอบถาม (Verbal Screening) การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดความสูง และการวัดเส้นรอบพุง เพื่อค้นหา พฤติกรรมเสี่ยง และค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น กลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการตรวจยืนยันความเสี่ยงต่อโรค Metabotic โดยบุคลากร กองสาธารณสุข เพื่อที่จะมีการดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง อันจะส่งผลให้ลดความรุนแรงของโรคลดค่าใช้จ่ายในการรักษาผู้ป่วยในระยะยาว พร้อมบันทึกข้อมูลโปรแกรมคัดกรองความเสี่ยงโรค Metabotic ปี 2560 ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลเมืองคอหงส์ ร่วมกับงานศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองคอหงส์ จึงได้จัดทำโครงการ เสริมสร้างชีวีหลีกหนีเบาหวาน ความดันโลหิตสูงเชิงรุกปี 2560 เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อภาวะ Metabotic ในประชากรกลุ่มเสี่ยง
อายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง และส่งเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เข้าใจหลักการดำเนินชีวิต สามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองและครอบครัวเพื่อลดการเกิดโรค ลดภาวะแทรกซ้อน ลดปัญหาค่าใช้จ่ายที่ต้องเป็นภาระตลอดไป และสามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างปกติสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีดัชนีมวลกายสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินมาตรฐานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้และไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ชาวบ้านในชุมชนบ้านทุ่งโดนมีสุขภาพแข็งแรง
    2. คนที่มีภาวะเสี่ยงจาการเกิดโรคความดันเบาหวานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทานอาหาร
    3. ชาวบ้านมีการออกกำลังกายมากขึ้นหลังจากได้รับการเข้าอบรม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีดัชนีมวลกายสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินมาตรฐานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้และไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน
    ตัวชี้วัด : 1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงสมัครใจเข้ารับปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร อารมณ์ และการออกกำลังกาย 3. กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงการพัฒนาตนเองสามารถลดน้ำหนัก ลดรอบเอว จากฐานเดิมได้ร้อยละ 70 4. กลุ่มเป้าหมายเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ครอบครัวและประชาชนทั่วไป

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีดัชนีมวลกายสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินมาตรฐานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้และไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน ประจำปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 2560-L7257-2-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปภาอร ชินสุนทรจิต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด