กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ


“ โครงการหมู่บ้านต้านภัยไข้เลือดออก ”

เขตพื้นที่หมู่ที่ 1 , 2และ 3 ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอุไร สันสาคร

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านต้านภัยไข้เลือดออก

ที่อยู่ เขตพื้นที่หมู่ที่ 1 , 2และ 3 ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5210-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านต้านภัยไข้เลือดออก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่หมู่ที่ 1 , 2และ 3 ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านต้านภัยไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านต้านภัยไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่หมู่ที่ 1 , 2และ 3 ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5210-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานาน โดยมียุงลายเป็นแมลงนำโรคและนับว่ามีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆในแต่ละปี สำหรับสถานการณ์ของไข้เลือดออกในปี ๒๕๕๙ ทั้งประเทศพบผู้ป่วยไข้เลือดออก ๖๓,๘๐๔ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๙๗.๕๒ ต่อประชากรแสนคน มีผู้เสียชีวิต ๖๔ ราย ในจังหวัดสงขลา มีผู้ป่วยไข้เลือดออก ๕,๕๐๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๓๙๑.๒๗ต่อประชากรแสนคน มีผู้เสียชีวิต ๑๑ ราย( ข้อมูล ๓๑ ธ.ค.๕๙, สสจ.สงขลา) อำเภอบางกล่ำเองก็มีการระบาด ปี ๒๕๕๘ มีผู้ป่วยจำนวน ๑๒๔ ราย ปี ๒๕๕๙ มีผู้ป่วยจำนวน๑๙๐ราย หมู่ที่ ๑, ๒, ๓ ตำบลบางกล่ำ มีพื้นที่รับผิดชอบจำนวน ๔๐๔ หลังคาเรือน ประชากรในพื้นที่ ๑,๐๓๕ .คน ปี ๒๕๕๘ มีผู้ป่วยจำนวน ๖ ราย เทียบเป็นอัตราป่วย ๔๑๘ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๕๙ มีผู้ป่วย จำนวน ๑๘ รายต่อ ประชากร ๑,๓๒๙ คน คิดเป็นอัตราป่วย๑,๓๕๔ ต่อแสนประชากร ซึ่งมีแนวโน้มการระบาดของโรคที่สูงขึ้น และจากการสำรวจค่า HI ปี ๒๕๕๙ เฉลี่ย ๓๖.๕๕ ซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐาน และอีกปัญหาที่สำคัญได้แก่ สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรค ได้แก่ปัญหาขยะในชุมชน ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การระบาด ให้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชนและ ทุกภาคส่วน เกิดความตระหนักในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกร่วมกัน อสม.ในเขตหมู่ที่ ๑, ๒, ๓ ตำบลบางกล่ำ ร่วมกับคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลบางกล่ำ จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการป่วย โรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลงร้อยละ ๒๐
  2. เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก
  3. เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลุกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย ตามเป้าหมายดังนี้ ๓.๑ ในโรงเรียนลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกโรงเรียนให้ครอบคลุมทุกโรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย ๓.๒ ในชุมชนลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐โดยให้มีจำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ ๑๐

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมปฏิบัติการการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนบ้านบางกล่ำและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และลงสำรวจ HICI ในชุมชน ร่วมกับแกนนำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. อัตราป่วยละอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้๒. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ องค์กร ชุมชน ประชาชนอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน แล ประชาชนในหมู่บ้าน ทุกคนให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงานตามโครงการอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ๓. ค่าดรรชนีลูกน้ำยุงลาย ของหมู่บ้าน วัด โรงเรียนและหน่วยราชการลดลงร้อยละ ๘๐


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมปฏิบัติการการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนบ้านบางกล่ำและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และลงสำรวจ HICI ในชุมชน ร่วมกับแกนนำ

วันที่ 22 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรม big cleaning day และรถประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ และให้ความรู้และจัดตั้งแกนนำในชุมชน ในเรื่องการจัดการขยะ อบรมปฏิบัติการการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนบ้านบางกล่ำและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และพ่นหมอกควันในโรงเรียน 2 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 แห่ง วัด 1 แห่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดเครือข่ายควบคุมโรค เยาวชนในโรงเรียน แกนนำในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ระบบการจัดการขยะที่เหมาะสมขึ้น อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ปี 2559 จากผู้ป่วย 18 ราย (อัตราป่วย 1,354) ปี 2560 ลดเหลือ 3 ราย (อัตราป่วย 225.7)

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการป่วย โรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลงร้อยละ ๒๐
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :

 

3 เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลุกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย ตามเป้าหมายดังนี้ ๓.๑ ในโรงเรียนลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกโรงเรียนให้ครอบคลุมทุกโรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย ๓.๒ ในชุมชนลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐โดยให้มีจำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ ๑๐
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการป่วย โรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลงร้อยละ ๒๐ (2) เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลุกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย ตามเป้าหมายดังนี้ ๓.๑ ในโรงเรียนลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกโรงเรียนให้ครอบคลุมทุกโรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย ๓.๒ ในชุมชนลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐โดยให้มีจำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ ๑๐

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมปฏิบัติการการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนบ้านบางกล่ำและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และลงสำรวจ HICI ในชุมชน ร่วมกับแกนนำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมู่บ้านต้านภัยไข้เลือดออก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5210-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุไร สันสาคร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด