กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย ในปีงบประมาณ 2560
รหัสโครงการ 60-L3053-2-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อบต.ตะบิ้ง
วันที่อนุมัติ 24 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 13 เมษายน 2560 - 13 เมษายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 13 พฤษภาคม 2560
งบประมาณ 74,650.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายยาการียาดีเยาะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.681,101.589place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (74,650.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 400 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันโลกได้สู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้มากขึ้นการสร้างความรู้แก่ผู้สูงอายุเพื่อสนับสนุนกลุ่มสมาชิกผู้สูงอายุให้สามารถดำรงชีวิตของผู้สูงอายุอย่างถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีขวัญกำลังใจในการเรียนรู้และสามารถเผยแพร่ความรู้แก่ผู้สูงอายุ เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ในที่ต่างๆและมีเป้าหมายที่จะเสริมสร้างธรมและพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลตะบิ้ง คุณภาพชีวิตเป็นเป้าหมายหลักของสังคมคือประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งร่างกาย และจิตใจทุกเพศทุกวัยจากการศึกษาข้อมูลพบว่าประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากรจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืนพัฒนาผู้สูงอายุให้มีความมั่นคงทางเศรษบกิจและสังคมมีคุฯภาพมีคุณค่าสามารถปรับตัวเท่าทันการเปลี่ยนแปลงเป็นพลังในการพัฒนาสังคม ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งทีทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคนตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชน ผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่ง เนื่องจากผ่านประสบการณ์มามากได้เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อนมีความรู้ มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิมและได้ทำคุณประโยชน์มาแล้วมากมายจำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ คุณค่าของผู้สูงอายุซึ่งเป็นคุณประโยชน์ต่อสังคมจึงจัดโครงการอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ 2560 ขึ้นเพื่อให้ผู้สูงวัยได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกันได้มีโอกาสเข้าอบรมคุณภาพชีวิตและเป็นการส่งเสริมสุขภาพืั้วทางด้านร่างกาย จิตใจ ขงอผู้สูงอายุให้ดีขึ้น ตาม พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปคกรองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และแผนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2553 กำหนดให้ภารกิจด้านสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส การจัดสวัสดิการสังคม เป็นภารกิจที่ต้องถ่ายโอนให้แก่องค์กรปคกรองส่วท้องถิ่นและอาจเลือกทำตามอำนาจหน้าที่ และ พรบ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมจนถึง (ฉบับที 6) พ.ศ. 2552 และกฎหมายได้กำหนดอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล เช่น จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก ส่งเสริมการสึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด้กและเยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ เป็นต้น ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลที่ให้ความสำคัญด้านสังคมและคุฯฃณภาพชีวิตซึ่งเป็นหลักประกันด้านสังคมและคุฯภาพชีวิตซึ่งเป็นหลักประกันด้านพื้นฐานของการบริการสาธารณะของรัฐภายใต้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ การพัฒนาคนและสังคมให้มีคุฯภาพเพื่อที่จะนำไปสู่การมีคุฯฃณภาพชีวิตที่ดี มีความมั่นคงในชีวิตและประชามีความสุข เพื่อให้การดำเนินการตามภารกิจขององค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง ผู้สูวัยตำบลตะบิ้ง ในปีงปบระมาณ 2560 โดยให้มีจัดกิจกรรมให้ความรู้ในการดำเนินชีวิตให้กับกลุ่มผู้สูงวัยที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ เพื่อสร้างกำลังใจในการดำเนินชีวิตและยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับผู้สูงอายุต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง

อบรมความรู้พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงวัยให้กับผู้สูงอายุ 400คน

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เสนอโครงการเพื่อให้คณะกรรมการกองทุนลหักประกันสุขภาพ อบต.ตะบิ้ง พิจาณณาอนุมัติ
  2. ประสานงานติดต่อวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถด้านสุขภาพผู้สูงอายุ
  3. จัดหาวัสดุอุปกรร์ในการฝึกอบรม กำหนดกิจกรรมต่างๆ
  4. จัดประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ
  5. ประชาสัมพันธ์ ลงพื้นที่สำรวจและประชาสัมพันธ์เชิญชวนมาร่วมโครงการ
  6. จัดตารางเวลา กำหนดการเนื้อหา หลักสูตรในการอบรม
  7. จัดอบรมโครงการอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย ในปีงบประมาณ 2560
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ
  2. ผู้สูงอายุได้ับการพัฒนาด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคม
  3. สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงในสังคมอย่างมีคุณค่า
  4. ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นทัศนะต่างๆร่วมกัน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มิ.ย. 2560 10:32 น.