กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ บริหารจัดการกองทุนฯ/พัฒนาศักยภาพกรรมการ
รหัสโครงการ 60-L7483-4-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ฝ่ายเลขากองทุนฯ
วันที่อนุมัติ 20 มิถุนายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ฝ่ายเลขากองทุนฯ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา13 (3) มาตรา 18 (4) (8)(9)และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นเป้นผู้ดำเนินงานและบริหารและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้รับความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลในพื้นที่ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบส่งเสริมสุขภาพของประเทศไทย ในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นโรคและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยได้มีการนำแผนยุทธศาสตร์หรือแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่แบบบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการติดตามผลการดำเนินกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลวังวิเศษ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชุมคณะกรรมการการกองทุน อนุกรรมการคณะทำงาน

1.จัดประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการกองทุนฯและผู้เกี่ยวข้องอย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี 2.เกิดการประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

2 เพื่อประชาสัมพันธ์กองทุนฯ

 

3 เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานกองทุนฯ

 

4 เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.รวบรวมข้อมูลเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณของกองทุนในปี งบประมาณ 2560เพื่อใช้ในการดำเนินงานบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลวังวิเศษ 2.เสนอขออนุมัติดำเนินโครงการ 3.จัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน คระทำงานและคณะอนุกรรมการเพื่อช่วยเหลือการดำเนินงานกองทุนและดำเนินกิจกรรมต่างๆของกองทุนฯ 4.จัดทำแผนสุขภาพชุมชนเชิญแกนนำกลุ่มต่างๆพร้อมตั้งคณะกรรมการบริหารงานและอนุกรรมการดำเนินงานกองทุนร่วมกิจกรรม 5.จัดให้มีการประชาสัมพันธ์กองทุนฯผ่านช่องทางประชาสัมพันธ์ต่างๆ เช่น ไวนิล แผ่นพับ ใบปลิว เวปไซต์ ฯลฯ 6.รายงานผลและสรุปผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คณะกรรมการบริหารกองทุนและผู้เกี่ยวข้องมีความรู้มีความเข้าใจเเนวทางในการบริหารจัดการกองทุนฯ 2.เกิดการดำเนินอย่างบูรณาการและมีส่วน่รวมในการพัฒนาสิทธิประโยชน์ที่เป็นภูมิปัญญาของท้องถิ่น 3.เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการรณ์การดำเนินงานและทิศทางของกองทุนฯและของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 4.เกิดพื้นที่ต้นแบบที่มีผลงานเป็นนวัตกรรมดีเด่นพร้อมเรื่องเล่าดีๆเกิดเครือข่ายความร่วมมือจากภาคีในการดำเนินสุขภาพชุมชนในเขตเทสบาลตำบลวังวิเศษ 5.ได้เผยแพร่ผลงานและเกิดการขยายผลการดำเนินงานด้านสุขภาพชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มิ.ย. 2560 11:04 น.