กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม


“ รู้ รักษ์ ปรับ ปลอด ”

ตำบลท่าข้าม อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวศศิธร ยอดศรี

ชื่อโครงการ รู้ รักษ์ ปรับ ปลอด

ที่อยู่ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 003/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"รู้ รักษ์ ปรับ ปลอด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าข้าม อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รู้ รักษ์ ปรับ ปลอด



บทคัดย่อ

โครงการ " รู้ รักษ์ ปรับ ปลอด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 31 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน นับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของประชาชน ประกอบกับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นและส่งผลกระทบต่อครอบครัวในการดูแลผู้ป่วยในแต่ละปีมีอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นข้อมูลจากศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ประเทศไทยช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ปี 2556 – 2560 อัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงต่อประชากรแสนคน เพิ่มขึ้นจาก 12,342 (จำนวน 3,936,171 ราย) เป็น 14,926 (จำนวน 5,597,671 ราย) โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัจจัยการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป เช่น การรับประทานที่มีรสเค็มจัด หรือรับประทานของทอดมากเกินไป ขาดกิจกรรมทางกายหรือขาดการออกกำลังกาย และ มีปัจจัยเสี่ยงจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่ สำหรับสถานการณ์โรคเบาหวาน พบว่าปัจจุบันประชากรไทยวัยผู้ใหญ่ ป่วยเป็นโรคเบาหวานถึง 4.8 ล้านคน และมักเกิดภาวะแทรกซ้อนเมื่ออายุเพิ่มขึ้น สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคมาจากวิถีชีวิตแบบเนือยนิ่ง โรคอ้วน และอายุที่มากขึ้น ในจำนวนนี้มีผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยและดูแลรักษาเพียงร้อยละ 35.6 หรือเพียง 2.6 ล้านคน บรรลุเป้าหมายในการรักษาได้เพียง 0.9 คน ทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคเบาหวานในเมืองไทยมีมากถึง 200 รายต่อวัน คาดการณ์ว่าความชุกของโรคเบาหวานจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 5.3 ล้านคนภายในปี 2583 (ที่มา: สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย)
จากการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตำบลท่าข้าม ปีงบประมาณ 2563 มีอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน232 ราย โรคเบาหวานจำนวน 89 ราย และอัตราการคัดกรอง โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานปี 2561 – 2563มีอัตราเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง เป็นร้อยละ 41.06,47.98 และ 18.65 ตามลำดับ อัตราเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคเบาหวาน เป็นร้อยละ 22.94 ,29.87 และ 24.16 ตามลำดับ (ที่มา :HDCข้อมูล ณ 17 มกราคม 2563) นอกจากนี้ยังพบผู้ที่ปฏิเสธ และไม่ได้เข้ารับการตรวจคัดกรองอีกจำนวนหนึ่ง อยู่ระหว่างการดำเนินติดตามโดยเจ้าหน้าที่ และอสม.อย่างต่อเนื่องจากการส่งต่อกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการคัดกรองตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2562 – ธันวาคม 2562 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 2 ราย และโรคเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 2 ราย อีกทั้งมีกลุ่มสงสัยป่วยที่ยังปฏิเสธการส่งต่อและการรักษาจำนวน 3 ราย อาจส่งผลให้เกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้น และอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงตามมาดังนั้นกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยทั้งที่ได้รับการติดตามและปฏิเสธการส่งต่อ จำเป็นต้องได้รับการดูแล เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด เพื่อให้สามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม โดยชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาวะคนในชุมชนอีกทั้งการดำเนินงานที่ผ่านมามีการจัดกิจกรรมและโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปีส่งผลให้มีการเข้าถึงบริการเพิ่มมากขึ้น ประชาชนส่วนใหญ่สามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม มีการติดตามและดูแลอย่างเป็นระบบ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะนาเระ เห็นความสำคัญของการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานโดยมีเป้าหมายเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคช่วยลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง และลดอัตราตายโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพตามวิถีชีวิตและบริบทชุมชน จึงได้จัดโครงการ รู้ รักษ์ ปรับ ปลอด ขึ้น เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รู้ รักษ์ ปรับ ปลอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ. 2ส.และสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือดได้ และได้รับการดูแลติดตามอย่างต่อเนื่อง และส่งต่ออย่างเหมาะสมตามมาตรฐานวิชาชีพ
  2. กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือดได้ ได้รับการส่งต่ออย่างเหมาะสม 3.กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ที่ปฏิเสธการส่งต่อ ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและติดตามดูแลอย่างเหมาะสมร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อป้องกันการเกิดโรครายใหม่และลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง
  3. อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง
  4. กลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน สามารถสามารถปรับวิธีการดูแลตนเองสอดคล้องกับภาวะสุขภาพ วิถีชีวิตและบริบทชุมชน เพื่อการป้องกันการเกิดโรครายใหม่
  5. ภาคีเครือข่ายทราบข้อมูล สถานการณ์โรค ตลอดจนปัญหาสุขภาพในชุมชน และมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาวะชุมชนอย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รู้ รักษ์ ปรับ ปลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รู้ รักษ์ ปรับ ปลอด จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวศศิธร ยอดศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด