กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากการทำงาน ของพนักงานเทศบาลตำบลคลองขุด ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายวินิช ถวิลวรรณ์

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากการทำงาน ของพนักงานเทศบาลตำบลคลองขุด

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5300-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากการทำงาน ของพนักงานเทศบาลตำบลคลองขุด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากการทำงาน ของพนักงานเทศบาลตำบลคลองขุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากการทำงาน ของพนักงานเทศบาลตำบลคลองขุด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5300-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 31 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 103,030.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาชีพของพนักงานเก็บขนขยะถือว่าเป็นอาชีพที่คนส่วนใหญ่มักมองไม่เห็นความสำคัญ หลายคนมองไม่เห็นว่าอาชีพเก็บขนขยะเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ให้กับคนกลุ่มหนึ่งที่ทำมาหากินอย่างสุจริตมีส่วนในการช่วยลดปัญหาขยะล้นเมืองและผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมอื่นๆ ตามมา แต่ในขณะเดียวกันในแง่ของสุขภาพและความปลอดภัยจากการประกอบอาชีพแล้วกลุ่มอาชีพนี้ ถือว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและความปลอดภัยในการทำงาน แม้ว่าพนักงานเก็บขนขยะของเทศบาลตำบลคลองขุดจะมีการดำรงชีวิตในด้านการป้องกันด้านสุขภาพอย่างเพียงพอ แต่ยังมีปัจจัยเสี่ยงอันเนื่องมาจากการทำงานที่เกิดโรคจากการประกอบอาชีพ (occupational diseases)การอยู่ในสภาพที่มีกลิ่นที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ จนได้รับผลกระทบต่อสุขภาพในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม อันเป็นผลมาจากขยะมูลฝอยเป็นที่สะสมของสารเคมีอันตราย เชื้อโรคต่างๆหรือแม้แต่ของมีคมต่างๆและจากรูปแบบการจัดการขยะพบว่า ในปัจจุบันลักษณะการเก็บขนรวบรวมขยะของประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่มีการแยกประเภทของขยะ ทำให้สุขภาพและความปลอดภัยจากการประกอบอาชีพของคนกลุ่มอาชีพนี้ ถือว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและความปลอดภัยในการทำงาน และส่งผลปัญหาสุขภาพที่สำคัญจากขยะติดเชื้อ และสารเคมีตกค้างในร่างกาย เช่น สารตะกั่ว สารหนู ปรอท และสารโลหะหนักอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีปัญหาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการยกของหนัก
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคลองขุด จึงได้จัดทำโครงการ“ตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากการทำงาน ของพนักงานเทศบาลตำบลคลองขุด” ในกลุ่มเจ้าหน้าที่ดูแลความสะอาดเรียบร้อย ซึ่งได้แก่ พนักงานเก็บขนขยะ พนักงานกวาดขยะ และเจ้าหน้าที่ควบคุมโรค ซึ่งบุคคลหรือเจ้าหน้าที่ทั้ง ๓ กลุ่มนี้ มีภาระงานที่ต้องสัมผัสกับสิ่งปฏิกูลมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชน และสารเคมี ซึ่งถือเป็นจุดเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรค เพื่อให้เกิดการป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดโรค ปลอดภัย ให้ได้รับบริการดูแลสุขภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม และได้รับการเฝ้าระวังความเสี่ยงทางสุขภาพ ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนที่อาจได้รับผลกระทบจากการสัมผัสขยะ รวมถึงเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองอย่างเหมาะสม อันจะส่งผลต่อการลดอัตราการเจ็บป่วยของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และลดค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้โรคจากการประกอบอาชีพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 37
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากการทำงาน และสามารถป้องกันตนเองจากภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากการทำงานได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้โรคจากการประกอบอาชีพ

วันที่ 13 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานงานกับงานอาชีวอนามัยโรงพยาบาลสตูล 2.จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย 3.ตรวจสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้-ความเข้าใจในด้านการป้องกันโรคจากการทำงานจำนวน ๓๗ คน 2. ผู้เข้าอบรมสามารถป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากการทำงานเก็บขนขยะ จำนวน ๓๗ คน ผลลัพธ์ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากการทำงาน และสามารถป้องกันตนเองจากภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากการทำงานได้

 

37 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคลองขุด ได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากการทำงาน ของพนักงานเทศบาลตำบลคลองขุด ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. กิจกรรมอบรม เรื่อง โรคที่เกิดจากการทำงาน, การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในการทำงาน, การส่งเสริมสุขภาพคนทำงาน และความสำคัญ และความจำเป็นของการตรวจสุขภาพประจำปี ซึ่งได้จัดกิจกรรมในวันที่ 13 มกราคม 2564 2. กิจกรรมการตรวจสุขภาพประจำปี ซึ่งจัดกิจกรรมในวันที่ 15 มกราคม 2564 และวันที่ 18 – 19 มกราคม 2564
3. ติดตามผลการตรวจสุขภาพของพนักงาน
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้พนักงานมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงที่เกิดจากการทำงาน อุปกรณ์ที่จำเป็นและเหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานได้รับการตรวจสุขภาพ และคัดกรองความเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากการทำงานได้ จากการติดตาม พบว่า มีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 32 คน และได้รับการตรวจสุขภาพ จำนวน 19 คน ซึ่งจากการติดตาม พบว่า หลังจากได้รับการอบรมผู้ปฏิบัติงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น เช่น มีการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเอง ล้างทำความสะอาดร่างกายหลังปฏิบัติงานในทันที และงดกิจกรรมหรือพฤติกรรมเสี่ยงที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพตนเอง อีกทั้งทำให้พนักงานมีความคิดและทัศนคติที่ดีต่อการตรวจสุขภาพ เข้าใจถึงความจำเป็นและเหตุผลที่ต้องตรวจสุขภาพประจำปี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ลดลง
80.00 60.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนมาตราการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน เพิ่มขึ้น
0.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 37 32
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 37 32
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้โรคจากการประกอบอาชีพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากการทำงาน ของพนักงานเทศบาลตำบลคลองขุด จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5300-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวินิช ถวิลวรรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด