กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม


“ โครงการชาวบ้านม่วงงามร่วมใจป้องกันโรคติดต่อในชุมชน ม.3 ”

ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางยูไหว อุมา

ชื่อโครงการ โครงการชาวบ้านม่วงงามร่วมใจป้องกันโรคติดต่อในชุมชน ม.3

ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวบ้านม่วงงามร่วมใจป้องกันโรคติดต่อในชุมชน ม.3 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวบ้านม่วงงามร่วมใจป้องกันโรคติดต่อในชุมชน ม.3



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มเยาวชนและกลุ่มประชาชนทั่วไป มีความรู้ สามารถป้องกันโรคติดต่อได้ (2) กลุ่มเยาวชน และกลุ่มประชาชนทั่วไป สามารถเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อให้กับชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมตัวแทน อสม. /จัดทำโครงการ/ชี้แจงเวทีสัญจร (2) จัดทำโครงการ (3) ชี้แจงในเวทีสัญจร (4) เดินรณรงค์ทุก 1 เดือน แจกเอกสารแผ่นพับ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์โรค (5) อบรมแกนนำจิตอาสา กลุ่มเยาวชน 50 คน กลุ่มประชาชน 100 คน และวิทยากร (6) สรุปโครงการ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อ คือ โรคที่สามารถถ่ายทอดติดต่อกันได้ ระหว่างบุคคล โดยมีเชื้อจุลินทรีย์ต่างๆ เป็นสาเหตุของโรค ซึ่งพฤติกรรมไม่เหมาะสมของมนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้เกิดโรคติดต่อได้ สำหรับในประเทศไทยเป็นประเทศร้อนชื้น ทำให้เชื้อโรคและแมลงเป็นพาหะนำโรค เจริญเติบโต และแพร่พันธุ์ได้ง่าย ประเทศเขตร้อนจึงพบโรคติดต่อได้มากกว่าประเทศที่มีอากาศหนาว ซึ่งโรคติดต่อในประเทศไทยมีทั้งหมด 52 โรค โรคติดต่ออันตราย 12 โรค เช่น โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (ซาร์ส) โรคติดเชื้อไวรัสอีโบร่า โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (เมอร์ส) เป็นต้น         ในตำบลม่วงงาม จากการสำรวจพบว่าโรคติดต่อที่พบบ่อยครั้ง คือ โรคไข้เลือดออก เมื่อปี พ.ศ. 2562 พบ 15 ราย ซึ่งได้มีการทำกิจกรรม เพื่อป้องกันโรคดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังพบโรคอุจจาระร่วง โรคมือเท้าปาก โรคตาแดง เป็นต้น         อสม. ม.3 เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการชาวม่วงงามร่วมใจป้องกันโรคติดต่อในชุมชน เพื่อกลุ่มเยาวชนและกลุ่มประชาชนทั่วไป มีความรู้ สามารถป้องกันโรคติดต่อได้และกลุ่มเยาวชนและกลุ่มประชาชนทั่วไป สามารถเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อให้กับชุมชนได้ ส่งผลให้ประชาชนไม่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. กลุ่มเยาวชนและกลุ่มประชาชนทั่วไป มีความรู้ สามารถป้องกันโรคติดต่อได้
  2. กลุ่มเยาวชน และกลุ่มประชาชนทั่วไป สามารถเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อให้กับชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมตัวแทน อสม. /จัดทำโครงการ/ชี้แจงเวทีสัญจร
  2. จัดทำโครงการ
  3. ชี้แจงในเวทีสัญจร
  4. เดินรณรงค์ทุก 1 เดือน แจกเอกสารแผ่นพับ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์โรค
  5. อบรมแกนนำจิตอาสา กลุ่มเยาวชน 50 คน กลุ่มประชาชน 100 คน และวิทยากร
  6. สรุปโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีการจัดอบรมแกนนำจิตอาสา และมีการผลิตสารไล่ยุงที่มีแอลกอฮอล์ 70 % มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และในทุกๆเดือน มีการเดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์โรคในพื้นที่ หมู่ที่ 3 ร่วมกับ กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งในการดำเนินโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 กลุ่มเยาวชนและกลุ่มประชาชนทั่วไป มีความรู้ สามารถป้องกันโรคติดต่อได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มเยาวชนและกลุ่มประชาชนทั่วไปมีความรู้ในเรื่องของโรคติดต่อ ร้อยละ 80
0.00 80.00

 

2 กลุ่มเยาวชน และกลุ่มประชาชนทั่วไป สามารถเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อให้กับชุมชนได้
ตัวชี้วัด : แกนนำกลุ่มเยาวชนและประชาชนทั่วไปสามารถเผยแพร่ความรู้เรื่องโรคติดต่อร้อยละ 100
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มเยาวชนและกลุ่มประชาชนทั่วไป มีความรู้ สามารถป้องกันโรคติดต่อได้ (2) กลุ่มเยาวชน และกลุ่มประชาชนทั่วไป สามารถเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อให้กับชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมตัวแทน อสม. /จัดทำโครงการ/ชี้แจงเวทีสัญจร (2) จัดทำโครงการ (3) ชี้แจงในเวทีสัญจร (4) เดินรณรงค์ทุก 1 เดือน แจกเอกสารแผ่นพับ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์โรค (5) อบรมแกนนำจิตอาสา กลุ่มเยาวชน 50 คน กลุ่มประชาชน 100 คน และวิทยากร (6) สรุปโครงการ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชาวบ้านม่วงงามร่วมใจป้องกันโรคติดต่อในชุมชน ม.3 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางยูไหว อุมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด