กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการป้องกันโรคระบาดที่มากับน้ำ ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางศรัณยา ปูเตะ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคระบาดที่มากับน้ำ

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4143-002 เลขที่ข้อตกลง 2/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 พฤศจิกายน 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันโรคระบาดที่มากับน้ำ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคระบาดที่มากับน้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันโรคระบาดที่มากับน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4143-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 พฤศจิกายน 2563 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลสะเตงนอก ตั้งอยู่ในอำเภอเมือง จังหวัดยะลา มีพื้นที่รับผิดชอบ 34.78 ตารางกิโลเมตร ครอบคุลมทั้งหมด 13 หมู่บ้าน ประชากรมีการประกอบอาชีพที่หลากหลาย โดยส่วนใหญ่ยังประกอบอาชีพ เกษตรกรรม มีกิจกรรมการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ทำสวนยางพารา สวนปาล์ม สวนผลไม้ ทำนา ทำไร่ เลี้ยงสัตว์ เป็นต้น ซึ่งในช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคมของทุกปี จะเป็นช่วงเวลาการประกอบอาชีพทำนาของเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ เนื่องจากเป็นช่วงฤดูที่มีแหล่งน้ำเพียงพอต่อการทำนา จากรายงานของกลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย สาธารณสุขจังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2563 พบชาวบ้านในพื้นที่ หมู่ที่ 6 ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา ซึ่งมีอาชีพทำนาจำนวน 18 ราย มีอาการเป็นเม็ดผื่น คัน และตุ่มน้ำที่บริเวณแขนและขาที่สัมผัสน้ำ หลังจากลงไปดำนาเพียง 1 วัน โดยข้อมูลเบื้องต้นสอดคล้องกับกรณีการระบาดของโรคหอยคันที่พบได้ในหลายอำเภอที่ประกอบอาชีพทำนา  โดยโรคนี้จะพบมีอาการเป็นลักษณะของโรคผิวหนังที่เกิดจากพยาธิที่อยู่ในน้ำได้ชอนไชเข้าสู่ผิวหนังแล้วกระตุ้นให้เกิดอาการคัน ถ้ารักษาความสะอาดไม่ดีพอก็อาจเกิดแผลพุพองได้ พยาธิเหล่านี้เป็นตัวอ่อนของพยาธิใบไม้ในเลือด ซึ่งเป็นพยาธิใบไม้ในสัตว์ต่าง ๆ เช่น วัว ควาย เป็นต้น พยาธิเหล่านี้จะมีวงจรชีวิตช่วงหนึ่งที่อาศัยอยู่ในหอยที่มีลักษณะคล้ายหอยขมและหอยสังข์ขนาดเล็ก ตัวหอยมีสีดำ เมื่อพยาธิเหล่านี้เข้าสู่ร่างกายของเราจะไม่เป็นอันตรายเนื่องจากไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ แต่จะก่อให้เกิดความรำคาญจากอาการคันและไม่สุขสบาย ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันได้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเตงนอก เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพของชาวบ้านที่ประกอบอาชีพทำนาในพื้นที่ดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคระบาดที่มากับน้ำในปีงบประมาณ 2564 เพื่อให้ชาวบ้านได้มีความรู้ในการป้องกันตนเองที่เหมาะสมและมีอุปกรณ์เพียงพอในการป้องกันตนเองจากการสัมผัสแหล่งน้ำที่จะก่อให้เกิดการระบาดของโรคได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนที่ประกอบอาชีพที่ต้องสัมผัสกับแหล่งน้ำมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคที่มากับ น้ำ
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนที่ประกอบอาชีพที่ต้องสัมผัสกับแหล่งน้ำมีอุปกรณ์ในการป้องกันตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรามที่่ 1 วัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคระบาดที่มากับน้ำได้ถูกต้อง 2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีอุปกรณ์ป้องกันตนเองจากการสัมผัสแหล่งน้ำเพื่อป้องกันโรคระบาดที่มากับน้ำ
ได้ครบถ้วน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรามที่่ 1 วัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ

วันที่ 1 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.สำรวจพื้นที่และจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ประกอบอาชีพที่ต้องสัมผัสกับแหล่งน้ำ และมีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคระบาดที่มากับน้ำ 2.ประชุมพิจารณาเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการช่วยเหลือป้องกันประชาชนจากโรคระบาดที่มากับน้ำ 3.เสนอโครงการเพื่อขอรับความเห็นชอบ และอนุมัติโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนโดยใช้งบประมาณประเภทกิจกรรมกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ 10 (5) 5.จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ช่วยป้องกันโรคและป้องกันการสัมผัสกับแหล่งน้ำ 6.ลงพื้นที่แจกจ่ายอุปกรณ์ป้องกันตนเองแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการป้องกันตนเอง โดยใช้แผ่นพับเป็นสื่อ 7.สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคระบาดที่มากับน้ำได้ถูกต้อง 2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีอุปกรณ์ป้องกันตนเองจากการสัมผัสแหล่งน้ำเพื่อป้องกันโรคระบาดที่มากับน้ำได้ครบถ้วน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเตงนอก ได้ดำเนินการจัดโครงการป้องกันโรคระบาดที่มากับน้ำ วัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนที่ประกอบอาชีพที่ต้องสัมผัสกับแหล่งน้ำมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคที่มากับน้ำและมีอุปกรณ์ในการป้องกันตนเอง ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมดังนี้ 1.สำรวจพื้นที่และจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ประกอบอาชีพที่ต้องสัมผัสกับแหล่งน้ำ และมีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคระบาดที่มากับน้ำ 2.ประชุมพิจารณาเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการช่วยเหลือป้องกันประชาชนจากโรคระบาดที่มากับน้ำ 3.เสนอโครงการเพื่อขอรับความเห็นชอบ และอนุมัติโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนโดยใช้งบประมาณประเภทกิจกรรมกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ 10 (5) 5.จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ช่วยป้องกันโรคและป้องกันการสัมผัสกับแหล่งน้ำ ได้แก่ รองเท้าบู๊ทยาว ถุงมือยางแบบยาว ผลิตภัณฑ์หรือน้ำมันป้องกันผิวหนัง
6.ลงพื้นที่แจกจ่ายอุปกรณ์ป้องกันตนเองแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการป้องกันตนเอง โดยใช้แผ่นพับเป็นสื่อ จากการดำเนินงานประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจ และได้รับอุปกรณ์ในการป้องกัน ทำให้ลดการเกิดโรคผิวหนังที่มากับน้ำได้ 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ • บรรลุตามวัตถุประสงค์ ดังนี้ ด้านปริมาณ -ประชาชนที่ประกอบอาชีพสัมผัสกับแหล่งน้ำ จำนวน 92 คน มีอุปกรณ์ในการป้องกันตนเอง

ด้านคุณภาพ
-ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ไม่เกิดโรคระบาดที่มากับแหล่งน้ำ และมีความรู้ในการป้องกันตนเอง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนที่ประกอบอาชีพที่ต้องสัมผัสกับแหล่งน้ำมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคที่มากับ น้ำ
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่ประกอบอาชีพที่ต้องสัมผัสกับแหล่งน้ำได้รับอุปกรณ์ในการป้องกันตนเองร้อยละ 100
0.00 0.00

 

2 2.เพื่อให้ประชาชนที่ประกอบอาชีพที่ต้องสัมผัสกับแหล่งน้ำมีอุปกรณ์ในการป้องกันตนเอง
ตัวชี้วัด : -ประชาชนที่ประกอบอาชีพที่ต้องสัมผัสกับแหล่งน้ำมีความรู้ในการป้องกันตนเองร้อยละ 80
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 92
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 92
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนที่ประกอบอาชีพที่ต้องสัมผัสกับแหล่งน้ำมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคที่มากับ น้ำ (2) 2.เพื่อให้ประชาชนที่ประกอบอาชีพที่ต้องสัมผัสกับแหล่งน้ำมีอุปกรณ์ในการป้องกันตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรามที่่ 1 วัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันโรคระบาดที่มากับน้ำ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4143-002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศรัณยา ปูเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด