กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยบนศีรษะ (กำจัดเหา) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่ ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนิติยา ลูกสะเดา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยบนศีรษะ (กำจัดเหา) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L8022-03-08 เลขที่ข้อตกลง .............................

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 พฤษภาคม 2564 ถึง 20 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยบนศีรษะ (กำจัดเหา) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยบนศีรษะ (กำจัดเหา) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยบนศีรษะ (กำจัดเหา) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L8022-03-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 พฤษภาคม 2564 - 20 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นสถานศึกษาที่ให้การอบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์และส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาที่เหมาะสมตามวัย ตามศักยภาพของเด็กแต่ละคนสำหรับในเรื่องการพัฒนาด้านร่างกาย การดูแลความสะอาดของร่างกายในเด็กปฐมวัย ถือเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสะอาดบริเวณศีรษะ ทั้งนี้ พบว่า มีแมลงในกลุ่มปรสิตชนิดหนึ่ง เรียกว่า "เหา" เหาเป็นแมลงขนาดเล็ก ไม่มีปีกเป็นตัวเบียดเบียนกัดหนังศีรษะ และดูดเลือดเป็นอาหาร โดยอาศัยบนศีรษะที่ไม่สะอาด พบว่า เหามักระบาดและแพร่กระจายในกลุ่มเด็กนักเรียน ตั้งแต่ชั้นปฐมวัยจนถึงประถมศึกษา โดยพบว่ามีเด็กนักเรียนติดเหา ประมาณ 80 - 90 % ซึ่งโรคเหานับเป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไป นอกจากก่อให้เกิดความรำคาญกับที่เป็นเนื่องจาก มีอาการคันศีรษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ ก่อให้เกิดภาวะโลหิตจางได้ด้วย และยังเป็นพาหะนำไปติดผู้อื่นต่อไปวิธีการรักษาเหา จะต้องทำการรักษาผู้ท่ีเป็นเหา และผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป โดยต้องทำการควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจายและป้องกัน ไม่ให้เกิดการติดเหาซ้ำ โดยใช้ยา เพื่อฆ่าเหา ซึ่งยามีทั้งในรูปครีม เจล โลชั่น ซึ่งวิธีการรักษาเหา ในรูปแบบดังกล่าวเป็นวิธีการที่ทำได้ง่าย และเห็นผลชัดเจน ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลบ้านไร่ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของเด็กที่เป็นเหา จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อรณรงค์กำจัดเหาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลบ้านไร่ โดยมุ่งหวังให้เด็กและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการรักษาความสะอาดของร่างกายและศีรษะ ที่จะช่วยป้องกันและลดการแพร่ระบาดของเหาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกำจัดเหาให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลบ้านไร่
  2. เพื่อให้เด็กมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น และมีบุคลิกภาพดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. วางแผนคณะทำงานครู คณะกรรมการศูนย์ และเจ้าหน้าที่ ทต. บ้านไร่
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยบนศีรษะ (กำจัดเหา) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลบ้านไร่ ให้เด็ก ผู้ปกครอง และบุคคลภายนอกทราบการทำกิจกรรมในศูนย์ฯ
  3. ออกกฎกติกาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยบนหนังศีรษะ
  4. กำจัดเหาให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่
  5. ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ
  6. คืนข้อมูลการทำโครงการให้แก่ ผู้ปกครองทราบ
  7. สรุปโครงการส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 81
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครอง 81

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่ที่เป็นเหาได้รับการกำจัดเหา และหายจากการเป็นเหา
  2. เด็กมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น
  3. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีบุคลิกภาพดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. วางแผนคณะทำงานครู คณะกรรมการศูนย์ และเจ้าหน้าที่ ทต. บ้านไร่

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

วางแผน ประชุมคุณครูเพื่อกำหนดการรดำเนินกิจกรรมการกำจัดเหาเด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จัดซื้ออุปกรณ์กำจัดเหา 2.กำหนดตารางการกำจัดเหาเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาล

 

0 0

2. ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 25 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

-ติดตามการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทำกิจกรรมกำจัดเหา ครั้งที่ 1
-เปิดโครงการโดย ท่านปลัดเทศบาลบ้านไร่ ว่าที่ร้อยตรีธนกร บุญสิริธนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการกำจัดเหาในเ็กจำนวน 81 คน

 

0 0

3. ประชาสัมพันธ์โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยบนศีรษะ (กำจัดเหา) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลบ้านไร่ ให้เด็ก ผู้ปกครอง และบุคคลภายนอกทราบการทำกิจกรรมในศูนย์ฯ

วันที่ 1 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

จ้างทำไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

 

81 0

4. กำจัดเหาให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่

วันที่ 2 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ดำเนินการกำจัดเหา   ให้นักเรียนทุกคนภายในศูนย์พัมนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่ ได้รับการหมักยากำจัดเหาทุกคน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียนทุกคนได้รับการกำจัดเห่า

 

81 0

5. ออกกฎกติกาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยบนหนังศีรษะ

วันที่ 2 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.นำนักเรียนทุกคนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตรวจหาเหาเบื่องต้น 2.ให้นักเรียนทุกคนได้รับการหมักยากำจัดเหา 3.ระหว่างหมักผมใช้หวีเสนียดส่างผมหาเหา 4.ล้างน้ำยากำจัดเหา และสระผม 5.ตรวจเหาซ้ำอีก 1 สัปดาห์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กทุกคนได้รับการกำจัดเหา

 

81 0

6. คืนข้อมูลการทำโครงการให้แก่ ผู้ปกครองทราบ

วันที่ 16 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

แจ้งผลการดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองทราบเรื่องเหาที่เด็กได้รับการกำจัดเหา

 

81 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกำจัดเหาให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลบ้านไร่
ตัวชี้วัด : เด็กที่เป็นเหาได้รับการกำจัดเหา และหายจากการเป็นเหา
60.00 81.00

 

2 เพื่อให้เด็กมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น และมีบุคลิกภาพดีขึ้น
ตัวชี้วัด : เด็กที่หายจากการเป็นเหา มีสาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น และมีบุคลิกภาพดีขึ้น
60.00 81.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 162
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 81
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครอง 81

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดเหาให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลบ้านไร่ (2) เพื่อให้เด็กมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น และมีบุคลิกภาพดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วางแผนคณะทำงานครู คณะกรรมการศูนย์ และเจ้าหน้าที่ ทต. บ้านไร่ (2) ประชาสัมพันธ์โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยบนศีรษะ (กำจัดเหา) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลบ้านไร่ ให้เด็ก ผู้ปกครอง และบุคคลภายนอกทราบการทำกิจกรรมในศูนย์ฯ (3) ออกกฎกติกาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยบนหนังศีรษะ (4) กำจัดเหาให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่ (5) ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ (6) คืนข้อมูลการทำโครงการให้แก่ ผู้ปกครองทราบ (7) สรุปโครงการส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยบนศีรษะ (กำจัดเหา) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L8022-03-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิติยา ลูกสะเดา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด