กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการ ร่วมมือ ช่วยเหลือ ป้องกัน ช่วงวิกฤตสถานการณ์ COVID-19 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางวนิดา ตาเยะ

ชื่อโครงการ โครงการ ร่วมมือ ช่วยเหลือ ป้องกัน ช่วงวิกฤตสถานการณ์ COVID-19 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2476-2-38 เลขที่ข้อตกลง 053/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 24 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ร่วมมือ ช่วยเหลือ ป้องกัน ช่วงวิกฤตสถานการณ์ COVID-19 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ร่วมมือ ช่วยเหลือ ป้องกัน ช่วงวิกฤตสถานการณ์ COVID-19 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ร่วมมือ ช่วยเหลือ ป้องกัน ช่วงวิกฤตสถานการณ์ COVID-19 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2476-2-38 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 24 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การพแร่ระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการกประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้โรคไวรัสโคโรนา หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ สังคม อย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้ สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ตัวไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดอาการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนักเพียง 1 – 3 % ร้ายแรงน้อยกว่า SAR ซึ่งมีอัตราการตาย 10% ดังนั้น มาตรการการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-19 นั้นถือว่าจำเป็น ด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายเพื่อไม่ให้ป่วย การป้องตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่มีคนพลุกพล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ด้วยทั้งแอลกอฮอล์เจล สบู่ การสวนหน้ากาก อย่างถูกวิธี การไม่นำเอามือมาป้าย หรือจับหน้า ความรู้และความเข้าใจการดำเนินไปของโรค เป็นสิ่งสำคัญจึงต้องมีการตอบโต้ต่อสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้ทันต่อสถานการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมในมาตรการ ป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา
  2. เพื่อสร้างความรัก ความสามัคคีระหว่างโรงเรียนและชุมชน
  3. เพื่อให้สถานศึกษาได้มีส่วนร่วมในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ให้ความรู้วิธีการป้องกันและมาตรการช่วยเหลือวิกฤติการแพร่ระบาดเชื้อไวรัส
  2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 181
กลุ่มวัยทำงาน 7
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. โรงเรียนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมมาตรการช่วยเหลือวิกฤติการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จากสถานศึกษา

๒. นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เกิดความปลอดภัยในการใช้ชีวิตและการดำรงชีวิตในช่วงวิกฤติสถานการณ์ COVID-๑๙ ของทุก ๆ วัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ให้ความรู้วิธีการป้องกันและมาตรการช่วยเหลือวิกฤติการแพร่ระบาดเชื้อไวรัส

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดกิจกรรม ให้ความรู้วิธีการป้องกันและมาตรการช่วยเหลือวิกฤติการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยมอบหน้ากากอนามัยให้กับชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและนักเรียน
  2. ติดตามและประเมิลผลการดำเนินงานโครงการ
  3. นำผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไขพัฒนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. โรงเรียนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมมาตรการช่วยเหลือวิกฤติการการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จากสถานศึกษา
  2. นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เกิดความปลอดภัยในการใช้ชีวิตและการดำรงชีวิตในช่วงวิกฤติสถานการณ์ COVID - 19 ของทุก ๆวัน

 

188 0

2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์โครงการให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา ทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. โรงเรียนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมมาตรการช่วยเหลือวิกฤติการการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จากสถานศึกษา
  2. นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เกิดความปลอดภัยในการใช้ชีวิตและการดำรงชีวิตในช่วงวิกฤติสถานการณ์ COVID - 19 ของทุก ๆวัน

 

188 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมในมาตรการ ป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด :
188.00 188.00

 

2 เพื่อสร้างความรัก ความสามัคคีระหว่างโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด :
188.00 188.00

 

3 เพื่อให้สถานศึกษาได้มีส่วนร่วมในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด :
188.00 188.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 188 188
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 181 181
กลุ่มวัยทำงาน 7 7
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมในมาตรการ ป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา (2) เพื่อสร้างความรัก ความสามัคคีระหว่างโรงเรียนและชุมชน (3) เพื่อให้สถานศึกษาได้มีส่วนร่วมในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ให้ความรู้วิธีการป้องกันและมาตรการช่วยเหลือวิกฤติการแพร่ระบาดเชื้อไวรัส (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ร่วมมือ ช่วยเหลือ ป้องกัน ช่วงวิกฤตสถานการณ์ COVID-19 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2476-2-38

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวนิดา ตาเยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด