โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กและเด็กก่อนวัยเรียน
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กและเด็กก่อนวัยเรียน |
รหัสโครงการ | L7251-64-01-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลบ่อตรุ |
วันที่อนุมัติ | 16 ธันวาคม 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2564 - 29 มกราคม 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 29 ตุลาคม 2564 |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวอาภรณ์ คงทอง |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล |
พื้นที่ดำเนินการ | จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 150 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 150 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : ระบุ |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ (คน) | 60.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในเด็กปฐมวัย โรคฟันผุในเด็กสามารถ พบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1-3 ปี สาเหตุหลักที่ ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาด ช่องปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการ การเจริญเติบโตของเด็กได้ การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสีย ต่อฟันแท้ของเด็ก ในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่ จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวนเก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้ อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะ บิดซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็น ปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าในการแสดงออก การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพ ช่องปากการให้สุขศึกษา บริการทันตกรรม การแปรงฟันที่ถูกวิธี การบำบัดรักษา และการติดตาม ประเมินผล ทางฝ่ายทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อตรุ วัดสนร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลบ่อตรุ ได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพและตระหนักถึง ความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กและเด็กก่อนวัยเรียน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อลดการเกิดฟันผุของเด็กวัยเรียนและเด็กก่อนวัยเรียน ฟันผุของเด็กวัยเรียนและเด็กก่อนวัยเรียน ไม่ให้เกินร้อยละ 60 |
0.00 | |
2 | เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันฟันผุให้เด็กวัยเรียนและเด็กก่อนวัยเรียนตั้งแต่ฟัน เริ่มขึ้น ได้แก่การตรวจสุขภาพช่องปาก และการส่งเสริมให้มีการแปรงฟัน หลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ทุกวัน การตรวจสุขภาพช่องปาก ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่ และการส่งเสริมให้มีการแปรงฟัน หลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ทุกวัน |
0.00 | |
3 | เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู ในการป้องกันฟันน้ำนมผุในเด็กวัยเรียนและเด็กก่อนวัยเรียน เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู ในการป้องกันฟันน้ำนมผุในเด็กวัยเรียนและเด็กก่อนวัยเรียน |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 20,000.00 | 0 | 0.00 | 20,000.00 | |
1 - 29 ม.ค. 64 | 1.กิจกรรมให้ความรู้ - 2.กิจกรรมนิทรรศการ - 3.กิจกรรมสาธิตการแปรงฟันอย่างถูกวิธี - 4.กิจกรรมตอบปัญหาชิงรางวัล | 0 | 20,000.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 20,000.00 | 0 | 0.00 | 20,000.00 |
- เด็กวัยเรียนและเด็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันโดยบุคลากรทางด้านสาธารณสุข
- สุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนและเด็กก่อนวัยเรียน พบฟันผุไม่เกิน ร้อยละ 60
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 พ.ย. 2563 09:50 น.