กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความตระหนักให้ประชาชนในชุมชน เห็นความสำคัญของการรักษาความสะอาดของบ้านเรือน ส่งเสริมให้ประชาชน/ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกิจกรรม เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนในชุมชน ให้ความร่วมมือในการดำเนินงาน ประชาชนมีการกำจัดขยะในบ้านเรือนที่ถูกวิธี ลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย -ประชาชนมีความพึงพอใจในกิจกรรมการดำเนินงาน
100.00 80.00

 

2 เพื่อให้บ้านเรือนสะอาด สามารถควบคุมค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน และสามารถเป็นบ้านเรือนต้นแบบ ด้านความสะอาด ไม่พบลูกน้ำยุงลาย ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : -ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชนลดลง โดยวัดจาก ค่า HI (จำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลาย) = ไม่เกินร้อยละ 20 ค่า CI (จำนวนภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลาย) = ไม่เกินร้อยละ 10
100.00 30.00

 

3 เพื่อค้นหา อสม.ต้นแบบ ด้านการดูแลบ้านเรือนในเขตรับผิดชอบตนเอง ผ่านการประเมิน บ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 100 ของบ้านเรือนในเขตรับผิดชอบของ อสม.ต้นแบบ มีความสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดโรคไข้เลือดออก
100.00 100.00

 

4 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : -อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงจากค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2559-2563) ร้อยละ 20
100.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4651
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,651
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักให้ประชาชนในชุมชน เห็นความสำคัญของการรักษาความสะอาดของบ้านเรือน  ส่งเสริมให้ประชาชน/ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกิจกรรม  เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อให้บ้านเรือนสะอาด สามารถควบคุมค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน และสามารถเป็นบ้านเรือนต้นแบบ ด้านความสะอาด ไม่พบลูกน้ำยุงลาย ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อค้นหา อสม.ต้นแบบ ด้านการดูแลบ้านเรือนในเขตรับผิดชอบตนเอง ผ่านการประเมิน บ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดโรคไข้เลือดออก (4) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ลงพื้นที่ เพื่อประเมินบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh