กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการค่ายทักษะชีวิตการป้องกันและลดปัญหายาเสพติด
รหัสโครงการ 64-L7577-2-7
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอตะโหมด
วันที่อนุมัติ 18 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 31 มกราคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 32,465.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวุฒินันท์ นามนาค
พี่เลี้ยงโครงการ นางวาลัยพร ด้วงคง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง จึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วน และการป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมให้ร่วมกันดำเนินการในลักษณะบูรณาการควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชนพบว่ามีเด็กและเยาวชนจำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจและเกิดจากหลงผิด โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่จะทำให้เด็กและเยาวชนมีโอกาศเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น เช่น เด็กและเยาวชนเป็นวัยที่ต้องควรเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การชักจูง และการหลอกลวง เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องและรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติดอย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติดและสิ่งสำคัญ คือ การสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วนให้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ ในเรื่องของการแพร่ระบาดของยาเสพติดมาในรูปแบบและวิธีต่างๆมากมาย เข้าไปสู่เด็กและเยาวชนในสถานศึกษาหรือชุมชนจึงจำเป็นหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดไม่ให้เกิดขึ้นในหมู่บ้าน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด

เยาวชนมีจิตสำนึกและสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยตนเอง ร้อยละ80

80.00 20.00
2 เพื่อให้เด็กเยาวชนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอกและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลได้

ลดอัตราการติดยาเสพติดในกลุ่มวัยรุ่น ร้อยละ 80

80.00 10.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 32,465.00 0 0.00
1 - 31 ม.ค. 64 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน 0 29,390.00 -
1 ม.ค. 64 - 31 ธ.ค. 63 กิจกรรมแสดงบทบาทสมมุติของนักศึกษาในค่ายพักแรม 0 3,075.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เยาวชน นักศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเรื่องยาเสพติดและสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติดอย่างเหมาะสม
  2. เยาวชน นักศึกษา เข้าใจเกี่ยวกับโทษด้านร่างกาย ชุมชน สังคม และโทษทางกฎหมาย
  3. ลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดเข้ามาในสถานศึกษาหรือชุมชน
  4. สภาเครือข่ายความร่วมมือในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ธ.ค. 2563 00:00 น.