กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากโครงการดังกล่าวเกิดความร่วมมือและสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนและสานต่อความต่อเนื่อง ก่อให้เกิดการคงไว้ซึ่งมาตรฐานและคุณภาพการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก แรกเริ่มด้วยการสร้างภาคีจากการประชุมคณะกรรมการตำบล โดยเป้าหมายจากเครือข่ายแต่ละหมู่บ้านในเขตความรับผิดชอบของ รพ.สต บ้านแหร วึ่งเป็นแกนนำในการขับเคลื่อน สานต่อด้วยการประชุมชี้แจงให้แก่เป้าหมายหลัก ซึ่งได้แก่ หญิงตั้งครรภ์หญิงวัยเจริญพันธ์ที่อยู่กินกับสามี รวมถึงนักเรียนหญิง ชั้น ม.6 และนักเรียนชั้นศาสนาตอนปลายในโรงเรียนมัธยม หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ เสี่ยงสูงทางด้านโรคทางกาย และกิจกรรมผ่อนคลายพร้อมเสริมรายได้ทำพิมเสมน้ำ ซึ่งเน้นย้ำในกลุ่มเป้าหมายที่เคยตั้งครรภ์ รวมถึงการปูทางสู่การเตรียมสู่การเข้าสู่วัยตั้งครรภ์ในภายภาคหน้า การดำเนินงานตามตัวชี้วัดในปี 2564 ที่ผ่านมานั้นสามรถสรุปผลการดำเนินงานตลอดปี ได้ดังนี้ หญิงครรภ์รายใหม่ 119 รายมีภาวะเสี่ยง 22 ข้อจำนวน 119 ราย คิดร้อยละ 100 เป็นโรคเสี่ยงสูง 5 โรค จำนวน 119 รายคิดเป็นร้อยละ 9.24 , ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ร้อยละ 88.30 ตามตัวชี้วัด>75%, หญิงครรภ์มีภาวะซีดครั้งแรกที่มาฝากครภ์ร้อยละ 16.12 ตามตัวชี้วัด75%,ได้รับยาเสริมไอโอดีนร้อยละ 99.39 ตามตัวชี้วัด>100%, ดูแลหลังคลอดครบ3ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 74 ตามตัวชี้วัด>65%,น้ำหนักแรกเกิดคลอดน้อย2,500กรัมร้อยละ4.41 ตามตัวชี้วัด50%,หญิงตั้งครรภ์ต้งไปทำงานต่างถิ่นร่วมกับสามีร้อยละ 7.69,สามีทำงานต่างถิ่นร้อยละ12.8,หญิงตั้งครรภ์มีความเครียดทางเศรษฐกิจขณะตั้งครรภ์ร้อยละ57.14

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างเครือข่ายบูรณาการเชิงรุกในการติดตามและให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงต่างๆ
ตัวชี้วัด : มีตัวแทนคณะกรรมการจากเครือข่ายบูรณการทั้ง 7 หมู่บ้าน ร้อยละ 100
0.00

 

2 2.เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ผลลัพท์การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กผ่านตัวชี้ตัวที่กำหนดร้อยละ 80
0.00

 

3 3.เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อลดปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก เช่นในกลุ่มหญิงวัยรุ่น หญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงมีครรภ์
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าการอบรมในแต่ละกลุ่มมีเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจร้อยละ 80
0.00

 

4 4.เพื่อให้มีกิจกรรมผ่อนคลายลดปัญหาภาวะเครียดในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ไม่พบปัญหาด้านความเครียด ด้านสุขภาพจิตในหญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะเสี่ยง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างเครือข่ายบูรณาการเชิงรุกในการติดตามและให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงต่างๆ (2) 2.เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน (3) 3.เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อลดปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก เช่นในกลุ่มหญิงวัยรุ่น หญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงมีครรภ์ (4) 4.เพื่อให้มีกิจกรรมผ่อนคลายลดปัญหาภาวะเครียดในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและภาวะเสี่ยงตามกลุ่มเป้าหมาย (2) อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและภาวะเสี่ยงตามกลุ่มเป้าหมาย (3) การจัดอบรมให้ความรู้ เรื่องการอนามัยแม่และเด็ก ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (4) การจัดประชุมแกนนำเครือข่ายตำบลนมแม่ (5) การจัดอบรมให้ความรู้ เรื่องการอนามัยแม่และเด็ก ในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์ที่อยู่กินกับสามี (6) การจัดอบรมให้ความรู้และสาธิตกิจกรรมพิมเสมน้ำแก่หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงต่อภาวะเครียด (7) การจัดอบรมให้ความรู้ เรื่องการเตรียมพร้อมสำหรับการตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีน และภาวะเสี่ยงในก่อนการตั้งครรภ์ ในกลุ่มนักเรียนหญิง ชั้น ป.6 และชั้นศาสนาตอนปลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh