กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี


“ โครงการปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่ ”

ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฉาย ไชยแดง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่

ที่อยู่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 004/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 004/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 28 กุมภาพันธ์ 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเด็กๆ นิยมรับประทานขนมคบเคี้ยว และน้ำอัดลมเป็นจำนวนมาก ในท้องตลาดมีขนมจำหน่ายมากมายหลายชนิด เช่นลูกอมต่างๆขนมกรุบกรอบ ขนมใส่สี และน้ำอัดลมจึงเป็นสาเหตุของโรคฟันผุ ซึ่งเป็นโรคที่มีอัตราสูงในทุกกลุ่มอายุ และก่อให้เกิดผลเสียต่อการเคี้ยวอาหาร และสุขภาพโดยรวม โรคฟันผุเป็นสิ่งที่สามารถป้องกันได้ด้วยพฤติกรรมทันตสุขภาพที่เหมาะสม ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเริ่มต้นในช่วงปฐมวัย ด้วยการบ่มเพาะพฤติกรรมการทำความสะอาด และการบริโภคอาหารที่ส่งเสริมสุขภาพและไม่เสี่ยงต่อฟันผุ ซึ่งเป็นวิธีการป้องกันโรคฟันผุได้ด้วยตนเอง
สุขภาพช่องปากของเด็กมีความสัมพันธ์โดยตรงต่อสุขภาพทั่วไปของเด็กแต่ปัจจุบันพบเด็กเล็กอายุ 2-5 ปี เป็นโรคฟันผุเกือบทุกคน บางคนฟันผุเกือบทั้งปาก ทำให้เด็กๆ ต้องทนทุกข์ทรมานจากการปวดฟันหรือการเจ็บป่วยเรื้อรังจากโรคฟันผุ อันจะส่งผลเสียต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็กในระยะยาว ซึ่งหากครูประจำชั้น ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กที่บ้านร่วมมือกันช่วยดูแลเด็กอย่างเหมาะสม โดยการปรับเปลี่ยนนิสัยของเด็กในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ลดการรับประทานขนมขบเคี้ยวต่างๆ ก็จะมีส่วนช่วยให้เด็กเป็นโรคฟันผุลดลง เด็กมีสุขภาพกายดี และเด็กมีสุขภาพจิตดี เพราะการที่เด็กมีฟันดี จะสามารถยิ้มได้อย่างมั่นใจ โดยไม่ต้องเกรงจะถูกเพื่อนล้อว่าฟันดำหรือฟันหลอ ครูผู้ดูแลเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าหวายมีส่วนช่วยอบรมสั่งสอน ฝึกทักษะการแปรงฟันให้เด็ก ฝึกให้เด็กรู้จักอาหารหลัก 5 หมู่และสอนให้เด็กเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย หรือชี้แจงให้เด็กรู้ถึงโทษของการรับประทานขนมขบเคี้ยว และน้ำอัดลม รวมทั้งการเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็กในเรื่องของการทำความสะอาดฟัน และการเลือกกินขนมที่มีประโยชน์ จะช่วยเสริมสร้างสุขนิสัยและการพัฒนาเป็นพฤติกรรมทันตสุขภาพที่ถูกต้องให้แก่เด็กซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคฟันผุ และมีส่วนทำให้เด็กมีสุขภาพกายดี และจิตใจแจ่มใสเปรียบเสมือนการสร้างให้เด็กมีต้นทุนที่ดีต่อการพัฒนาในด้านอื่นๆ ให้ได้ผลดียิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.๑เพื่อให้ผู้ปกครองได้รู้จักเลือกซื้อขนมที่มีประโยชน์ต่อร่างกายของเด็ก ๑.๒เพื่อให้ผู้ปกครองได้ส่งเสริมเด็กให้มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 24
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    6.1ผู้ปกครองต้องรู้จักเลือกซื้ออาหารและขนมที่มีประโยชน์


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดอบรมให้กับผู้ปกครอง

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    2.1ประชุม ชี้แจง วางแนวทางการจัดโครงการ/กิจกรรม ๒.๒เสนอขออนุมัติโครงการฯ ต่อประธานคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ 2.๓ประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมการดำเนินงานตามโครงการ ๒.๔แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ๒.๕ดำเนินงานตามโครงการ 2.๖ประเมินผลโครงการ/สรุป/รายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการดำเนินงาน
    มีการประชุมโครงการ ดำเนินงานโครงการปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่ตามที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯและอนุกรรมการกองทุนครั้งที่ 1/2559 ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2559  ทางกองทุนได้อนุมัติในการเบิกจ่ายตาม โครงการปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่  โครงการได้จัดจัดขึ้นในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 ณ.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าหวาย พิธีเปิดโครงการโดย นายสุธรรม  แก้วสุกใส รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลสุไหงปาดีเป็นผู้กล่าวรายงานและเป็นประธานในพิธีเปิดงาน โครงการปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่ โดยมีกิจกรรมประกอบด้วย         - การบรรยาย  เรื่องการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ที่ถูกต้องตามโภชนาการในวัย 2-5ปี  โดย นางเสาวนีย์  รัตนกุล ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ         - การบรรยาย เรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกหลักตามโภชนาการ โดย นางเสาวนีย์      รัตนกุล ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ         - การบรรยาย เรื่องกินขนมขบเคี้ยวอย่างไรให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ โดย นางนัยต์ชนก  ถิ่นจะนะ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ         - การบรรยาย เรื่องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหาร โดย นางนัยต์ชนก  ถิ่นจะนะ ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ         สรุปผลการประเมินหลังจากการฝึกอบรม 1.  เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยยิ้ม  สุภาพเป็นมิตร         - มากที่สุด  58.33         - มาก  41.66         - ปานกลาง         - น้อย         - น้อยที่สุด 2.  สถานที่จัดกิจกรรม         - มากที่สุด 45.83         - มาก  50         - ปานกลาง  4.16         - น้อย         - น้อยที่สุด 3.  เนื้อหาความรู้ที่ได้รับ         - มากที่สุด  54.16         - มาก  37.5         - ปานกลาง 8.33         - น้อย         - น้อยที่สุด 4.  ระยะของการจัดกิจกรรม         - มากที่สุด  37.5         - มาก  37.5         - ปานกลาง  25         - น้อย         - น้อยที่สุด 5.  สื่ออุปกรณ์เหมาะสมเพียงพอ         - มากที่สุด  41.66         - มาก  50         - ปานกลาง  8.33         - น้อย         - น้อยที่สุด 6.  สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้         - มากทีสุด  45.83         - มาก  45.83         - ปานกลาง  8.33         - น้อย         - น้อยที่สุด
    2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
    2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ / บรรลุตามวัตถุประสงค์   ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์  เพราะ

     

    24 24

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.๑เพื่อให้ผู้ปกครองได้รู้จักเลือกซื้อขนมที่มีประโยชน์ต่อร่างกายของเด็ก ๑.๒เพื่อให้ผู้ปกครองได้ส่งเสริมเด็กให้มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ตามวัย
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 24
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 24
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.๑เพื่อให้ผู้ปกครองได้รู้จักเลือกซื้อขนมที่มีประโยชน์ต่อร่างกายของเด็ก ๑.๒เพื่อให้ผู้ปกครองได้ส่งเสริมเด็กให้มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ตามวัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนนิสัยหนูน้อยคนใหม่ จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 004/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฉาย ไชยแดง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด