กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

แผนงานการฝึกอบรมตัวแทนประกันสำหรับติดตามการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์และฝึกอบรมการดูแลสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ภายใต้โครงการกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2564

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองมีความรู้ ความเข้าใจ รูุเท่าทันโรคหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100
150.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การดื่ม การออกกำลังกาย การพักผ่อน การกินยา และความรวดเร็วในการเข้ารับการรักษาเมื่อมีสัญญาณอาการเตือนของโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90
150.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการสร้างอาสาในการติดตามดูแล เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100
23.00

 

4 เพื่อส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยให้สิทธิตามเงื่อนไขการประกันของโครงการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90
150.00

 

5 เพื่อลดการสูญเสียที่อาจทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิตได้
ตัวชี้วัด : ลดการเกิดความพิการและเสียชีวิตลง ร้อยละ 70
150.00

 

6 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและเทคนิคการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนให้แก่ตัวแทนประกันกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100
23.00

 

7 เพื่อจัดทำทะเบียนประวัติ/บันทึกสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์/ผู้เข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100
150.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 173
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 23
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองมีความรู้ ความเข้าใจ รูุเท่าทันโรคหลอดเลือดสมอง (2) เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การดื่ม การออกกำลังกาย การพักผ่อน การกินยา และความรวดเร็วในการเข้ารับการรักษาเมื่อมีสัญญาณอาการเตือนของโรค (3) เพื่อส่งเสริมการสร้างอาสาในการติดตามดูแล เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ (4) เพื่อส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยให้สิทธิตามเงื่อนไขการประกันของโครงการ (5) เพื่อลดการสูญเสียที่อาจทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิตได้ (6) เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและเทคนิคการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนให้แก่ตัวแทนประกันกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง (7) เพื่อจัดทำทะเบียนประวัติ/บันทึกสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์/ผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้แก่ผู้ถือกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง (ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สมัครเข้าร่วมโครงการ) (2) กิจกรรมที่ 3 จัดทำทะเบียนประวัติ/บันทึกสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์/ผู้เข้าร่วมโครงการ (3) กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและเทคนิคการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนให้แก่ตัวแทนประกันกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง (4) จัดทำทะเบียนประวัติ/บัทึกสุขภาพผู้ถือกรมธรรม์ (5) อบรมเชิงปฏิบัติการความรู้ ความเข้าใจแก่ตัวแทนประกันกรมธรรม์ประกันติดบ้านติดเตียง (6) อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยเรื้อรังที่สมัครเข้าร่วมโครงการ (ผู้ถือกรมธรรม์)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh