โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2564 ”
ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายธวัช ใสเกื้อ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2564
ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 64-L1520-01-04 เลขที่ข้อตกลง 3/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2564 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1520-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,414.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสีย
ชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่มมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและอกชน พบว่าปัญหาโรคใช้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา
ตำบลอ่าวตงเป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ในปี ๒๕๕9 – ๒๕๖3 (๑ มค.- ๓0 ก.ย.๖3) เท่ากับ 74.56,83.88,46.60, 288.94และ 44.74 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ ไม่มีผู้ป่วยตาย การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมิถุนายน - กันยายน ของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่งพอดี และชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้ง ขุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ประกอบกับสภาพภูมิอาการที่เปลี่ยนแปลง เป็นสาเหตุที่ทำให้ลูกน้ำยุงลายเจริญเติบโตได้ดี และข้อมูลทางวิชาการพบว่า ขณะนี้การเจริญเติบโตของลูกน้ำยุงลายกลายเป็นยุงใช้เวลาเพียง ๕ วัน จาก ๗วัน ทำให้ปริมาณยุงตัวเต็มวัยเพิ่มมากขึ้น จึงคาดการณ์ว่าในปี 2564 อาจเกิดโรคระบาดของโรคไข้เลือดออก และหากมีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออกจากโรงพยาบาลต่างๆ หรือแม้แต่ในระบบการฝาระวังในพื้นที่ก็ต้องดำเนินการสอบสวนโรคและควบคุมโรคภายใน ๒ ชั่วโมงและพ่นสารเคมีรอบบ้านผู้ป่วยรัศมีอย่างน้อย ๑๐๐ เมตร เป็นจำนวน ๒ ครั้ง โดยมีระยะห่างกัน ๗ วัน เพื่อเป็นการตัดวงจรการแพร่ระบาดของโรค
ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหาจากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรค
ไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในปง ได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2563 เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน ชุมชน เกิดความร่วมมือในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลาย และวิธีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำเป็นการตัดวงจรพาหนะ นำโรคไข้เลือดออกได้ดีที่สุดและเป็นการควบคุมป้องกันการระบาดของโรคได้แบบยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน Generation ที่ 2
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้น้อยกว่าค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง (พ.ศ. ๒๕๕9-๒๕๖3)
- เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ควบคุมโรคไข้เลือดออกผ่านช่องทางสื่อต่างๆครอบคลุมพื้นที่เขตรับผิดชอบในโรงเรียน วัด สถานที่ราชการ หมู่บ้าน
- กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
- กิจกรรมทำลายลูกน้ำและยุงตัวแก่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
558
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราการป่วย/ตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกลดน้อยลง
๒. ประชาชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบลร่วมมือกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและบ้านเรือน อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
๓. ประชาชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก
๔. สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ควบคุมโรคไข้เลือดออกผ่านช่องทางสื่อต่างๆครอบคลุมพื้นที่เขตรับผิดชอบในโรงเรียน วัด สถานที่ราชการ หมู่บ้าน
วันที่ 28 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
1.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ควบคุมโรคไข้เลือดออกผ่านช่องทางสื่อต่างๆครอบคลุมพื้นที่เขตรับผิดชอบ
ในโรงเรียน วัด สถานที่ราชการ หมู่บ้าน
2. ให้ความรู้หน้าเสาธงในช่วงฤดูกาลระบาด
3. ให้ความรู้ พร้อมกันสื่อสารความเสี่ยงผ่านแกนนำ อสม. ที่ประชุมหมู่บ้าน และเวทีการประชุมต่างๆในพื้นที่
4. การประชุมประชาคมภายในหมู่บ้านเมื่อเกิดกรณีการระบาดของโรค
5. ประชุม War room ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินในกรณีเกิดการระบาด และหามาตรการในการหยุดการระบาดของโรค
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประชาชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบลร่วมมือกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและบ้านเรือน อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
2. ประชาชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก
0
0
2. กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
วันที่ 28 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
- กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข
- รณรงค์ขับเคลื่อนโดยชมรมจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อม เดือนละ 1 ครั้ง บูรณาการกับการเยี่ยมบ้าน อสม. ผู้นำชุมชน และขยายผลสู่ประชาชน
- การประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายภายในหมู่บ้านที่รับผิดชอบ
- สุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ๆมีผู้ป่วยต่อเนื่อง (มีผู้ป่วยสงสัยมากกว่า 2 รายภายใน 28 วัน)
- การไขว้ประเมินเพื่อสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายระหว่างหมูบ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.อัตราการป่วย/ตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกลดน้อยลง
๒. ประชาชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบลร่วมมือกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและบ้านเรือน อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
๓. ประชาชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก
๔. สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน
0
0
3. กิจกรรมทำลายลูกน้ำและยุงตัวแก่
วันที่ 28 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
1.การติดตามเฝ้าระวังความชุกของลูกน้ำยุงลายทุกเดือน โดย อสม.ในพื้นที่
2. การออกดำเนินการ สอบสวนและควบคุมโรคเพื่อตัดวงจรการแพร่เชื้อภายในพื้นที่ โดยทีม SRRT รพ.สต.บ้านในปง
3.กิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก กรณีมีผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยดำเนินการสอบสวน และควบคุมโรคติดต่อที่เฝ้าระวังในชุมชนภายใน ๒๔ ชั่วโมง และลงพื้นที่พ่นหมอกควันรอบบ้านผู้ป่วยรัศมีอย่างน้อย ๑๐๐ เมตร เป็นจำนวน 2 ครั้ง โดยมีระยะห่างกัน 7 วัน และแจกทรายอะเบท และการพ่นหมอกควันในสถานที่ราชการ โรงเรียน วัด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในช่วงก่อนฤดูกาลระบาด ฤดูกาลระบาด และหลังฤดูกาลระบาด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.อัตราการป่วย/ตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกลดน้อยลง
๒. ประชาชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบลร่วมมือกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและบ้านเรือน อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
๓. ประชาชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก
๔. สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- กิจกรรมร่วมรณรงค์โรคไข้เลือดออก จำนวน 300 คน แบ่งเป็นการรณรงค์ครั้งใหญ่ 4 ครั้ง ประกอบด้วย นักเรียน อสม. ผู้นำชุมชน ประชาชนทั่วไป
2.กิจกรรมพ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยง จำนวน 35 ครั้ง สถานที่พ่น วัด โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และบ้านเรือนที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
3.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ด้วยรถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ในหมู่บ้าน
4.กิจกรรมเก็บขยะ 2 ข้างทางถนน
5.ให้ความรู้ในการประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน Generation ที่ 2
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน Generation
ที่ ๒
0.00
2
เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้น้อยกว่าค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง (พ.ศ. ๒๕๕9-๒๕๖3)
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดกว่าค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง (พ.ศ ๒๕๕9-๒๕๖3) ร้อยละ ๒๐
0.00
3
เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
558
558
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
558
558
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน Generation ที่ 2 (2) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้น้อยกว่าค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง (พ.ศ. ๒๕๕9-๒๕๖3) (3) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ควบคุมโรคไข้เลือดออกผ่านช่องทางสื่อต่างๆครอบคลุมพื้นที่เขตรับผิดชอบในโรงเรียน วัด สถานที่ราชการ หมู่บ้าน (2) กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย (3) กิจกรรมทำลายลูกน้ำและยุงตัวแก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2564 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 64-L1520-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายธวัช ใสเกื้อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2564 ”
ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายธวัช ใสเกื้อ
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 64-L1520-01-04 เลขที่ข้อตกลง 3/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2564 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1520-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,414.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสีย ชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่มมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและอกชน พบว่าปัญหาโรคใช้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ตำบลอ่าวตงเป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ในปี ๒๕๕9 – ๒๕๖3 (๑ มค.- ๓0 ก.ย.๖3) เท่ากับ 74.56,83.88,46.60, 288.94และ 44.74 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ ไม่มีผู้ป่วยตาย การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมิถุนายน - กันยายน ของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่งพอดี และชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้ง ขุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ประกอบกับสภาพภูมิอาการที่เปลี่ยนแปลง เป็นสาเหตุที่ทำให้ลูกน้ำยุงลายเจริญเติบโตได้ดี และข้อมูลทางวิชาการพบว่า ขณะนี้การเจริญเติบโตของลูกน้ำยุงลายกลายเป็นยุงใช้เวลาเพียง ๕ วัน จาก ๗วัน ทำให้ปริมาณยุงตัวเต็มวัยเพิ่มมากขึ้น จึงคาดการณ์ว่าในปี 2564 อาจเกิดโรคระบาดของโรคไข้เลือดออก และหากมีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออกจากโรงพยาบาลต่างๆ หรือแม้แต่ในระบบการฝาระวังในพื้นที่ก็ต้องดำเนินการสอบสวนโรคและควบคุมโรคภายใน ๒ ชั่วโมงและพ่นสารเคมีรอบบ้านผู้ป่วยรัศมีอย่างน้อย ๑๐๐ เมตร เป็นจำนวน ๒ ครั้ง โดยมีระยะห่างกัน ๗ วัน เพื่อเป็นการตัดวงจรการแพร่ระบาดของโรค ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหาจากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรค ไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในปง ได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2563 เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน ชุมชน เกิดความร่วมมือในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคปวดข้อยุงลาย และวิธีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำเป็นการตัดวงจรพาหนะ นำโรคไข้เลือดออกได้ดีที่สุดและเป็นการควบคุมป้องกันการระบาดของโรคได้แบบยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน Generation ที่ 2
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้น้อยกว่าค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง (พ.ศ. ๒๕๕9-๒๕๖3)
- เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ควบคุมโรคไข้เลือดออกผ่านช่องทางสื่อต่างๆครอบคลุมพื้นที่เขตรับผิดชอบในโรงเรียน วัด สถานที่ราชการ หมู่บ้าน
- กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
- กิจกรรมทำลายลูกน้ำและยุงตัวแก่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 558 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราการป่วย/ตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกลดน้อยลง ๒. ประชาชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบลร่วมมือกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและบ้านเรือน อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ๓. ประชาชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก ๔. สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ควบคุมโรคไข้เลือดออกผ่านช่องทางสื่อต่างๆครอบคลุมพื้นที่เขตรับผิดชอบในโรงเรียน วัด สถานที่ราชการ หมู่บ้าน |
||
วันที่ 28 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ1.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ควบคุมโรคไข้เลือดออกผ่านช่องทางสื่อต่างๆครอบคลุมพื้นที่เขตรับผิดชอบ ในโรงเรียน วัด สถานที่ราชการ หมู่บ้าน 2. ให้ความรู้หน้าเสาธงในช่วงฤดูกาลระบาด 3. ให้ความรู้ พร้อมกันสื่อสารความเสี่ยงผ่านแกนนำ อสม. ที่ประชุมหมู่บ้าน และเวทีการประชุมต่างๆในพื้นที่ 4. การประชุมประชาคมภายในหมู่บ้านเมื่อเกิดกรณีการระบาดของโรค 5. ประชุม War room ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินในกรณีเกิดการระบาด และหามาตรการในการหยุดการระบาดของโรค ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประชาชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบลร่วมมือกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและบ้านเรือน อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 2. ประชาชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย |
||
วันที่ 28 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.อัตราการป่วย/ตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกลดน้อยลง ๒. ประชาชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบลร่วมมือกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและบ้านเรือน อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ๓. ประชาชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก ๔. สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมทำลายลูกน้ำและยุงตัวแก่ |
||
วันที่ 28 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ1.การติดตามเฝ้าระวังความชุกของลูกน้ำยุงลายทุกเดือน โดย อสม.ในพื้นที่ 2. การออกดำเนินการ สอบสวนและควบคุมโรคเพื่อตัดวงจรการแพร่เชื้อภายในพื้นที่ โดยทีม SRRT รพ.สต.บ้านในปง 3.กิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก กรณีมีผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยดำเนินการสอบสวน และควบคุมโรคติดต่อที่เฝ้าระวังในชุมชนภายใน ๒๔ ชั่วโมง และลงพื้นที่พ่นหมอกควันรอบบ้านผู้ป่วยรัศมีอย่างน้อย ๑๐๐ เมตร เป็นจำนวน 2 ครั้ง โดยมีระยะห่างกัน 7 วัน และแจกทรายอะเบท และการพ่นหมอกควันในสถานที่ราชการ โรงเรียน วัด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในช่วงก่อนฤดูกาลระบาด ฤดูกาลระบาด และหลังฤดูกาลระบาด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.อัตราการป่วย/ตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกลดน้อยลง ๒. ประชาชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบลร่วมมือกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนและบ้านเรือน อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ๓. ประชาชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก ๔. สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- กิจกรรมร่วมรณรงค์โรคไข้เลือดออก จำนวน 300 คน แบ่งเป็นการรณรงค์ครั้งใหญ่ 4 ครั้ง ประกอบด้วย นักเรียน อสม. ผู้นำชุมชน ประชาชนทั่วไป 2.กิจกรรมพ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยง จำนวน 35 ครั้ง สถานที่พ่น วัด โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และบ้านเรือนที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 3.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ด้วยรถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ในหมู่บ้าน 4.กิจกรรมเก็บขยะ 2 ข้างทางถนน 5.ให้ความรู้ในการประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน Generation ที่ 2 ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน Generation ที่ ๒ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้น้อยกว่าค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง (พ.ศ. ๒๕๕9-๒๕๖3) ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดกว่าค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง (พ.ศ ๒๕๕9-๒๕๖3) ร้อยละ ๒๐ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 558 | 558 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 558 | 558 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน Generation ที่ 2 (2) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้น้อยกว่าค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง (พ.ศ. ๒๕๕9-๒๕๖3) (3) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ควบคุมโรคไข้เลือดออกผ่านช่องทางสื่อต่างๆครอบคลุมพื้นที่เขตรับผิดชอบในโรงเรียน วัด สถานที่ราชการ หมู่บ้าน (2) กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย (3) กิจกรรมทำลายลูกน้ำและยุงตัวแก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี2564 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 64-L1520-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายธวัช ใสเกื้อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......