กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการดูแลสุขภาพและดูแลตนเองที่บ้านอย่างต่อเนื่อง
รหัสโครงการ 64-L5193-01-002
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังใหญ่
วันที่อนุมัติ 1 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2563 - 31 กรกฎาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2564
งบประมาณ 130,180.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางบุญประสม นิลกาฬ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 3000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
12.73
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
13.70
3 เนื่องจากกลุ่มป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากควบคุมโรคได้ไม่ดี มีแนวโน้มมากขึ้น และจากการศึกษาข้อมูลพบว่าการให้ผู้ป่วยหรือผู้ดูแลวัดความดันหรือเจาะน้ำตาลเองที่บ้านจะช่วยให้การควบคุมโรคได้ดีที่สุดเพราะเป็นการผ่อนคลายคว
0.00
4 การคัดกรองค้นหาผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ค้นหาได้น้อย
1.40

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง

1.ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวาน

95.00 95.00
2 2.กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 90

2.กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 90

90.00
3 3.กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการยืนยันโรคร้อยละ 100

3.กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการยืนยันโรคร้อยละ 100

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 130,180.00 0 0.00
1 ต.ค. 63 - 31 ธ.ค. 63 1.ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในประชากร 35 ปีขึ้นไป 0 47,300.00 -
1 - 31 ม.ค. 64 2.อบรมกลุ่มเสี่ยง 0 6,100.00 -
1 ม.ค. 64 - 30 มิ.ย. 64 3.ค้นหาผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่โดยวิธีตรวจสอบความทนทานต่อระดับน้ำตาล 75 กรัม 0 4,580.00 -
1 ม.ค. 64 - 31 มี.ค. 64 4.การทำ SMBP และ SMBG ด้วยตนเองที่บ้านในกลุ่มป่วย 0 72,200.00 -

1.ประชุม อสม.และเจ้าหน้าที่เพื่อเตรียมความพร้อมวางแผนงานการตรวจคัดกรอง -ค่าอาหารว่างจำนวน 154 คน( อสม.+จนท.) คนละ 1 มื้อๆละ 25 บาทเป็นเงิน3,850 บาท 2.การจัดทำแผนการออกคัดกรอง รายหมู่ จำนวน 8 หมู่บ้าน วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 1 บ้านคลองยอ วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 2 บ้านพรุกง วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 3 บ้านควนหมาก วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 4 บ้านใหม่ วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 5 บ้านทุ่งหรี่ วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 6 บ้านวังใหญ่ วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 7 บ้านโหล๊ะบอน วันที่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค.63 หมู่ที่ 8 บ้านควนหินเภา 2.กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตแก่ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปโดยให้บริการดังนี้ -ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต วัดรอบเอว วัดส่วนสูง คำนวณดัชนีมวลกาย ( BMI ) เจาะเลือดเพื่อตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด คัดกรองภาวะซึมเศร้า คัดกรองบุหรี่ คัดกรองวัณโรคปอด ตรวจสุขภาพช่องปาก ให้สุขศึกษารายกลุ่ม /รายบุคคล เครื่องวัดความดันโลหิตแบบดิจิตอล จำนวน 20 เครื่องๆละ 2,500 บาท สำหรับผู้ป่วยวัดความดันโลหิตเองที่บ้าน เป็นเงิน 50,000 บาท - เครื่องตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด จำนวน 10 เครื่องๆละ 2,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท -แอลกอฮอล์สำลี จำนวน 8 กล่องๆละ 450บาท เป็นเงิน 3,600 บาท - แผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 30 กล่องๆ 750 บาท เป็นเงิน 22,500 บาท -เข็มเจาะเลือดปลายนิ้ว จำนวน 30 กล่องๆละ 400 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท -ถุงมือยาง จำนวน 3 กล่อง ๆละ 100บาท เป็นเงิน 300 บาท - ถ่านสำรองใส่เครื่องเจาะน้ำตาล จำนวน 30 ก้อนๆละ50 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท -ถ่าน AA สำหรับใส่เครื่องวัดความดันโลหิตให้ผู้ป่วย 5 กล่องๆละ 390 บาทเป็นเงิน 1,950 บาท -ค่าสำลีแห้ง(10*20) 20 แพ็คๆละ80 บาทเป็นเงิน 1,600 บาท
3.การแปรผลการคัดกรองและคืนข้อมูลการคัดกรองสุขภาพ จำแนกเป็นกลุ่ม ๓ กลุ่ม -กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย - ค่าบัตรประจำตัวผู้ป่วยที่วัดความดันโลหิตและตรวจน้ำตาลเองที่บ้าน จำนวน 100 ใบๆละ 2 บาท เป็นเงิน 200 บาท 4.ให้ความรู้เรื่องความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง แก่กลุ่มเสี่ยงและทำการทดสอบความทนทานต่อกลูโคส (75gm OGTT) ในกลุ่มเสี่ยง จำนวน 200 ราย แปรผลการตรวจ -ค่าน้อยกว่า 140 mg% = ปกติ -ค่า 141-199mg% = เสี่ยง -ค่า > หรือ = 200 mg% = สงสัยป่วย (ส่งต่อเพื่อวินิจฉัยโรค) - ค่าน้ำตาลกลูโคส 454 กรัม/กระป๋อง จำนวน 50 กระป๋องๆละ 70 บาทเป็นเงิน 3,500บาท - Syringe 3 ml 3 กล่องละ 150 บาท เป็นเงิน 450 บาท -เข็มเจาะเลือด เบอร์ 21 จำนวน 3 กล่องๆละ 60 บาท เป็นเงิน 180 บาท -แก้วพลาสติกขนาด 8 ออนซ์ จำนวน 5แพ็คๆละ 90 บาท เป็นเงิน 450 บาท -ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ 200 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท(ใช้ตามสิทธิ์หลักประกันสุขภาพ) 5.อบรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่ควบคุมโรคไม่ดี - การใช้เครื่องมือและการบันทึกด้วยตนเอง - เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมเป็นรายบุคคล -ค่าอาหารว่างผู้เข้ารับการอบรมกลุ่มเสี่ยง จำนวน 100 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน2,500 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 จำนวน 2 รุ่น เป็นเงิน 3,600 บาท -ค่าอาหารว่างผู้เข้ารับการอบรมกลุ่มเสี่ยง จำนวน 100 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน2,500 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 จำนวน 2 รุ่น เป็นเงิน 3,600 บาท -ค่าวัสดุสำนักงาน จำนวน 2000บาท

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ธ.ค. 2563 14:57 น.