ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายประสิทธิ์ รัตนพรหมวุฒิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
มิถุนายน 2564
ชื่อโครงการ ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-3-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 195,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทย มีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุสูงเป็นอันดับ 2ในอาเซียน รองจากประเทศ
สิงคโปร์ โดยในปีพศ. 2558 ประเทศไทยมีประชากรอายุ ๖๐ ปื ขึ้นไป ร้อยละ 16 ซึ่งผู้สูงอายุร้อยละ 87.4
ดูแลตัวเองได้ ร้อยละ 11.3 พึ่งพาบ้าง และร้อยละ 1.3 พึ่งพาทั้งหมด โดยประเทศไทยได้ก้าวสู่สังคมสูงอายุตั้งแต่
ปี พ.ศ.2548 ในปีพศ. 2562 จะเป็นครั้งแรกที่ประชากรสูงอายุมากกว่าประชากรเด็ก คือมีผู้สูงอายุ ร้อยละ 18
เด็กร้อยละ15.9 และในปี พศ 2564 ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ คือมีประชากรที่มีอายุ
60 ปีขึ้นไปถึงร้อยละ20 ของประชากรทั้งหมด และในปี พศ. 2574 ประเทศไทยจะมีอัตราส่วนของผู้สูงอายุ ร้อยละ 28
ของจำนวนประชากรทั้งหมดของประเทศ
โครงสร้างประขากผู้สูงอายุในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ พบว่า ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวมากขึ้นและมี
จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยใน พศ. 2563 เทศบาลนครหาดใหญ่ มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุ ๖๐ปื ขึ้นไป
จำนวน 25,734 คน (ข้อมูลจากสำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลนครหาดใหญ่ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2563) คิดเป็นร้อยละ
16.50 ของประชากรทั้งหมด ถือว่าเทศบาลนครหาดใหญ่ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วเช่นกัน สถานการณ์เหล่านี้นำมาสู่
ปัญหาของผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพอนามัย ด้านเศรษฐกิจและด้านสังคม ซึ่งทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชนต้อง
ตระหนักถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้น และส่งเริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีความพร้อม ศักยภาพ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคม
ได้อย่างมีความสุข มีศักดิ์ศรี เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ พึ่งพาตนเองได้ทั้งด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ ไม่เหงา
ไม่ซึมเศร้า ไม่ติดบ้านติดเตียงก่อนเวลาอันควร ด้วยการให้ความรู้และวิธีการในการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยทั้งสุขภาพ
ทางกาย สุขภาพจิต จิตปัญญารวมทั้งสร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้ผู้สูงอายุในการปกป้องตนเองจากภัยรอบค้นด้วยการให้
ข่าวสาร ความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลนครหาดใหญ่ ได้จัดตั้งขึ้นและกำกับดูแล
โดยเทศบาลนครหาดใหญ่ ตามแนวคิดประชารัฐ เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนในการดำเนินงาน
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูอายุในพื้นที่ ทั้งกลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง และกลุ่มติดสังคม โดยได้ดำเนินงานดูแล
ระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพ
สำหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์เทศบาลนครหาดใหญ่ในการพัฒนาและ
เสริมสร้างศักยภาพคน เสริมสร้างให้ประชาชนมีทักษะความรู้ ความสามารถและพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอด
ชีวิต ทำให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีในทุกด้าน มีความสุขครอบคลุมทั้ง ๕ มิติ คือ สุขสบาย สุขสนุก สุขสง่า
สุขสว่าง สุขสงบ ดังนโยบาย "หาดใหญ่ มหานครแห่งความสุข" ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาล
นครหาดใหญ่ จึงได้ดำเนินโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่เพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ขึ้น
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ผลการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ พศ. 2561 สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตามตัวชี้วัดของ
โครงการทุกข้อ ดังนี้ ๑) มีผู้เข้าร่วมโครงการเกินเป้าหมายที่กำหนด ๒ ผู้เข้าร่วมโครงการ ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ของเวลาอบรมทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 82.25 3.) ผู้ข้าร่วมโครงการเข้าร่วมทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์
การช่วยเหลือสังคมและกิจกรรมจิตอาสาต่าง ๆ มากกว่า ๒ กิกรรม รวมทั้งหมด 14 ครั้ง ๔) ผู้เข้าร่วมโครงการมี
ความรู้ความสามารถและทักษะในการดูแลตนเอง อยู่ในระดับมาก ๕) ผู้เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพ ทั้งด้าน
ร่างกาย จิตใจและสังคมโดยรวม อยู่ในระดับมาก และผู้เข้าร่วมโครงการมีความสุขเมื่อได้นำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิต
มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด ๖) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการ อยู่ในระดับมาก ผลการดำเนินงาน
โครงกรส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 การดำเนินงานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์
ตามตัวชี้วัดของโครงการ ดังนี้ 1) ผู้ข้าร่วมโครงการมีความรู้ความสามารถในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเองของ
โดยรวมอยู่ในระดับมาก-มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 86.84 โดยมีค่าเฉลี่ยโดย รวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ผู้เข้าร่วม
โครงการมีความสุขทั้ง ๕ มิติ โดยรวมอยู่ในระดับมาก-มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 91.26 โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ที่สุด ๔) ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าร่วมทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ การช่วยเหลือสังคมและกิจกรรมจิตอาสาต่าง ๆ
มากกว่า ๒ กิจกรรม รวมทั้งหมด ๔ ครั้ง ๕) ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 81.84 มีความพึงพอใจต่อโครงการ โดยรวม
อยู่ในระดับมาก-มากที่สุด ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พศ. 2563 ได้ดำเนินโครงการในระยะเวลาสั้น ๆ เพียง
8 สัปดาห์ และได้ยกเลิกโครงการเนื่องจากผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่า โครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่
สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุได้ในทุกด้าน และช่วยให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพและ
ความสุข ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูอายุและคนพิการเทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนา
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พศ. ๒๕๖๔ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และมีทักษะในการจัดการ ดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสุขครอบคลุม ๕ มิติ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- เพื่อผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดูแลสุขภาพและเป็นจิตอาสาเพื่อสังคม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนและสรุปผลการดำเนินงาน ฯ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 2
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 3
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 4
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 5
- กิจกรรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 6
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 7
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 8
- ถ่ายเอกสารประกอบการอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ประสบการณ์ที่ได้รับไปจัดการและดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น
2.ผู้เข้าร่วมครงการมีสุขภพร่งกายที่แข็งแรง มีสุขภพใจที่ดี ไม่หงา ไม่ชีมเศร้า พึ่งพาตนเองได้ มีคุณภาพ
ชีวิตที่ดีขึ้นและมีความสุขครอบคลุม ๕ มิติ
3. ผู้สูงอายุเกิดการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำกิจกรรมร่วมกัน รวมทั้งเป็นเวทีที่เปิดโอกาสให้เข้าร่วมเป็นจิต
อาสาสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนและสรุปผลการดำเนินงาน ฯ
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน ประกอบด้วย คณะกรรมการศูนย์พัฒฯ คณะกรรมการโรงเรียนผู้สูงอายุ
เจ้าหน้าที่ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ
กำหนดวันจัดอบรมตามหลักสูตรในวันที่ 18 ก.พ. 2564 คณะกรรมการทุกฝ่ายพร้อมดำเนินงาน
25
0
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น
และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
70
0
3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 2
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น
และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
70
0
4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 3
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น
และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
70
0
5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 4
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น
และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
70
0
6. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 5
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น
และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
70
0
7. กิจกรรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 6
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น
และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
70
0
8. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 7
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น
และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
70
0
9. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 8
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น
และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
70
0
10. ถ่ายเอกสารประกอบการอบรม
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
เอกสารประกอบการอบรมตลอดหลักสูตร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สมุดบันทึกสุขภาผู้สูงอายุ แผ่นพับ/ใบปลิวความรู้การดูแลสุขภาพ/แบบฟอร์มต่างๆ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และมีทักษะในการจัดการ ดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๙๐
0.00
2
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสุขครอบคลุม ๕ มิติ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป มีความรู้ ความสามารถในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเองอยู่ในระดับมาก-มากที่สุด
0.00
3
เพื่อผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดูแลสุขภาพและเป็นจิตอาสาเพื่อสังคม
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป มีความสุข
ทั้ง๕มิติ ประกอบด้วย สุขสบาย สุขสนุก สุขสง่า สุขสว่าง และสุขสงบ อยู่ในระดับมาก-มากที่สุด
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และมีทักษะในการจัดการ ดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสุขครอบคลุม ๕ มิติ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) เพื่อผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดูแลสุขภาพและเป็นจิตอาสาเพื่อสังคม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนและสรุปผลการดำเนินงาน ฯ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 2 (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 3 (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 4 (6) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 5 (7) กิจกรรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 6 (8) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 7 (9) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 8 (10) ถ่ายเอกสารประกอบการอบรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายประสิทธิ์ รัตนพรหมวุฒิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายประสิทธิ์ รัตนพรหมวุฒิ
มิถุนายน 2564
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-3-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 195,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทย มีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุสูงเป็นอันดับ 2ในอาเซียน รองจากประเทศ สิงคโปร์ โดยในปีพศ. 2558 ประเทศไทยมีประชากรอายุ ๖๐ ปื ขึ้นไป ร้อยละ 16 ซึ่งผู้สูงอายุร้อยละ 87.4 ดูแลตัวเองได้ ร้อยละ 11.3 พึ่งพาบ้าง และร้อยละ 1.3 พึ่งพาทั้งหมด โดยประเทศไทยได้ก้าวสู่สังคมสูงอายุตั้งแต่ ปี พ.ศ.2548 ในปีพศ. 2562 จะเป็นครั้งแรกที่ประชากรสูงอายุมากกว่าประชากรเด็ก คือมีผู้สูงอายุ ร้อยละ 18 เด็กร้อยละ15.9 และในปี พศ 2564 ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ คือมีประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปถึงร้อยละ20 ของประชากรทั้งหมด และในปี พศ. 2574 ประเทศไทยจะมีอัตราส่วนของผู้สูงอายุ ร้อยละ 28 ของจำนวนประชากรทั้งหมดของประเทศ โครงสร้างประขากผู้สูงอายุในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ พบว่า ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวมากขึ้นและมี จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยใน พศ. 2563 เทศบาลนครหาดใหญ่ มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุ ๖๐ปื ขึ้นไป จำนวน 25,734 คน (ข้อมูลจากสำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลนครหาดใหญ่ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2563) คิดเป็นร้อยละ 16.50 ของประชากรทั้งหมด ถือว่าเทศบาลนครหาดใหญ่ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วเช่นกัน สถานการณ์เหล่านี้นำมาสู่ ปัญหาของผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพอนามัย ด้านเศรษฐกิจและด้านสังคม ซึ่งทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชนต้อง ตระหนักถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้น และส่งเริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีความพร้อม ศักยภาพ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข มีศักดิ์ศรี เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ พึ่งพาตนเองได้ทั้งด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ ไม่เหงา ไม่ซึมเศร้า ไม่ติดบ้านติดเตียงก่อนเวลาอันควร ด้วยการให้ความรู้และวิธีการในการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยทั้งสุขภาพ ทางกาย สุขภาพจิต จิตปัญญารวมทั้งสร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้ผู้สูงอายุในการปกป้องตนเองจากภัยรอบค้นด้วยการให้ ข่าวสาร ความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสม ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลนครหาดใหญ่ ได้จัดตั้งขึ้นและกำกับดูแล โดยเทศบาลนครหาดใหญ่ ตามแนวคิดประชารัฐ เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนในการดำเนินงาน ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูอายุในพื้นที่ ทั้งกลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง และกลุ่มติดสังคม โดยได้ดำเนินงานดูแล ระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพ สำหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์เทศบาลนครหาดใหญ่ในการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพคน เสริมสร้างให้ประชาชนมีทักษะความรู้ ความสามารถและพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอด ชีวิต ทำให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีในทุกด้าน มีความสุขครอบคลุมทั้ง ๕ มิติ คือ สุขสบาย สุขสนุก สุขสง่า สุขสว่าง สุขสงบ ดังนโยบาย "หาดใหญ่ มหานครแห่งความสุข" ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาล นครหาดใหญ่ จึงได้ดำเนินโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่เพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ขึ้น ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ผลการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ พศ. 2561 สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตามตัวชี้วัดของ โครงการทุกข้อ ดังนี้ ๑) มีผู้เข้าร่วมโครงการเกินเป้าหมายที่กำหนด ๒ ผู้เข้าร่วมโครงการ ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ของเวลาอบรมทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 82.25 3.) ผู้ข้าร่วมโครงการเข้าร่วมทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ การช่วยเหลือสังคมและกิจกรรมจิตอาสาต่าง ๆ มากกว่า ๒ กิกรรม รวมทั้งหมด 14 ครั้ง ๔) ผู้เข้าร่วมโครงการมี ความรู้ความสามารถและทักษะในการดูแลตนเอง อยู่ในระดับมาก ๕) ผู้เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพ ทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจและสังคมโดยรวม อยู่ในระดับมาก และผู้เข้าร่วมโครงการมีความสุขเมื่อได้นำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิต มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด ๖) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการ อยู่ในระดับมาก ผลการดำเนินงาน โครงกรส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 การดำเนินงานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ ตามตัวชี้วัดของโครงการ ดังนี้ 1) ผู้ข้าร่วมโครงการมีความรู้ความสามารถในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเองของ โดยรวมอยู่ในระดับมาก-มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 86.84 โดยมีค่าเฉลี่ยโดย รวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ผู้เข้าร่วม โครงการมีความสุขทั้ง ๕ มิติ โดยรวมอยู่ในระดับมาก-มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 91.26 โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ที่สุด ๔) ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าร่วมทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ การช่วยเหลือสังคมและกิจกรรมจิตอาสาต่าง ๆ มากกว่า ๒ กิจกรรม รวมทั้งหมด ๔ ครั้ง ๕) ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 81.84 มีความพึงพอใจต่อโครงการ โดยรวม อยู่ในระดับมาก-มากที่สุด ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พศ. 2563 ได้ดำเนินโครงการในระยะเวลาสั้น ๆ เพียง 8 สัปดาห์ และได้ยกเลิกโครงการเนื่องจากผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่า โครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่ สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุได้ในทุกด้าน และช่วยให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพและ ความสุข ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูอายุและคนพิการเทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พศ. ๒๕๖๔ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และมีทักษะในการจัดการ ดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสุขครอบคลุม ๕ มิติ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- เพื่อผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดูแลสุขภาพและเป็นจิตอาสาเพื่อสังคม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนและสรุปผลการดำเนินงาน ฯ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 2
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 3
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 4
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 5
- กิจกรรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 6
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 7
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 8
- ถ่ายเอกสารประกอบการอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ประสบการณ์ที่ได้รับไปจัดการและดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น 2.ผู้เข้าร่วมครงการมีสุขภพร่งกายที่แข็งแรง มีสุขภพใจที่ดี ไม่หงา ไม่ชีมเศร้า พึ่งพาตนเองได้ มีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้นและมีความสุขครอบคลุม ๕ มิติ 3. ผู้สูงอายุเกิดการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำกิจกรรมร่วมกัน รวมทั้งเป็นเวทีที่เปิดโอกาสให้เข้าร่วมเป็นจิต อาสาสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนและสรุปผลการดำเนินงาน ฯ |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดประชุม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน ประกอบด้วย คณะกรรมการศูนย์พัฒฯ คณะกรรมการโรงเรียนผู้สูงอายุ
เจ้าหน้าที่ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ
|
25 | 0 |
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
|
70 | 0 |
3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 2 |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
|
70 | 0 |
4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 3 |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
|
70 | 0 |
5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 4 |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
|
70 | 0 |
6. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 5 |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
|
70 | 0 |
7. กิจกรรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 6 |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
|
70 | 0 |
8. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 7 |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
|
70 | 0 |
9. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 8 |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจกับเรื่องที่อบรมได้มากขึ้น และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ
|
70 | 0 |
10. ถ่ายเอกสารประกอบการอบรม |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำเอกสารประกอบการอบรมตลอดหลักสูตร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสมุดบันทึกสุขภาผู้สูงอายุ แผ่นพับ/ใบปลิวความรู้การดูแลสุขภาพ/แบบฟอร์มต่างๆ
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และมีทักษะในการจัดการ ดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๙๐ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสุขครอบคลุม ๕ มิติ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป มีความรู้ ความสามารถในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเองอยู่ในระดับมาก-มากที่สุด |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดูแลสุขภาพและเป็นจิตอาสาเพื่อสังคม ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป มีความสุข ทั้ง๕มิติ ประกอบด้วย สุขสบาย สุขสนุก สุขสง่า สุขสว่าง และสุขสงบ อยู่ในระดับมาก-มากที่สุด |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และมีทักษะในการจัดการ ดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสุขครอบคลุม ๕ มิติ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) เพื่อผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดูแลสุขภาพและเป็นจิตอาสาเพื่อสังคม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนและสรุปผลการดำเนินงาน ฯ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 2 (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 3 (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 4 (6) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 5 (7) กิจกรรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 6 (8) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 7 (9) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สัปดาห์ที่ 8 (10) ถ่ายเอกสารประกอบการอบรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายประสิทธิ์ รัตนพรหมวุฒิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......