กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสื่อสารสร้างสรรค์ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยประจำปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางสุกัลยา สมัน




ชื่อโครงการ โครงการสื่อสารสร้างสรรค์ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5287-3-04 เลขที่ข้อตกลง 03/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสื่อสารสร้างสรรค์ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสื่อสารสร้างสรรค์ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสื่อสารสร้างสรรค์ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5287-3-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การจัดการเรียนรุ้ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีวิวัฒนาการที่เปลี่ยนแปลงอยู่เป็นระยะ ซึ่งปัจจุบันพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ส. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มี 9 หมวด 87 มาตรา ได้บัญยัติสาระที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาที่สำคัญเพื่อเป็นกลไก และตัวขับเคลื่อนทางการศึกษา หมวดที่ 4 มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผุ้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุดกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศุกยภาพ มาตรา 23 การจัดการศึกษา ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา มาตรา 24 การใช้โรงเรียนเป็นฐานการเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อมเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียน โดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียนความประพฤติการสังเกตพฤติกรรมการเรียนการเข้าร่วมกิจกรรม ควบคู่ในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต้ละระดับและรูปแบบการศ฿กษา การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นศูนย์การ หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ที่ได้จัดดำเนินการให้สอดคล้องกับผู้เรียน ความแตกต่างระหว่างบุคคลความสามารถทางปัญญาวิธีการเรียนรู้โดยบูรณาการคุณธรรมค่านิยมอันพึงประสงค์ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติจริง ได้พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ศึกษาค้นคว้าทดลองและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ตามความถนัดความสนใจด้วยวิธีการกระบวนการและแห่งการเรียนรู้ที่หลากหลายที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริงทั้งในและนอกห้องเรียน มีการวัดประเมินผลตามสภาพจริง ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ไเ้ตามมาตราฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยใช้สื่อสร่งสรรค์ในการเรียนรู้     ผู้ปกครองหรือครอบครัว คือ คณุคนแรกของเด็ก เด็กได้เรียนรู้หลายสิ่งหลายอย่างที่บ้านโดยไม่ต้องได้รับอิธิพลหรือได้รับการสอนอย่างเป็นทางการจากสถานศึกษาแต่อย่างใด ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งที่เมื่อเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษาแล้วการเรียนรู้จะต้องเชื่อมต่อและเชื่อมโยงระหว่างสถานที่ศึกษาและครอบครัว เพื่อให้การเรียนรู้ของเด็กต่อเนื่องและทำให้การเรียนรู้มีความหมายต่อเด็ก เพราสามารถเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงที่บ้านได้ด้วย การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในสถานศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ต่อเด็ก และเพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ให้กับเด็ก เกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปบมวัย ให้คำปรึกษาหรือข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงดูหรือปรับพฤติกรรมเด็ก การเรียนรู้ของเด็กที่เหมาะสมกับวัย ซึ่งจากการประเมินพัฒนาการของเด็กใรศุนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ พบว่าเด็กมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 ไม่สมวัย ร้อยะล 15     ดังนั้น ศุนยืพัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ จึงได้จัดทำโครงการสื่อสร้างสรรค์ส่งเสริมพัฒนานาการเด็กปบมวัยขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการให้เด็กปบมวัยจะเป็นกระบนการในการพัฒนาเด็กปฐมวัยด้านการเรียนรู้ ทักษะชีวิตและส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการใช้หนังสือนิทานและสื่อสร้างสรรค์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคมและด้านสติปัญา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก ด้ายการจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่านสื่อสร้างสรรค์และหนังสือนิทาน
  2. 2. เพื่อส่งเสริมผู้ปกครองให้มีความรู้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ผ่านสื่อสร้างสรรค์และหนังสือนิทาน
  3. 3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนในการเล่านิทาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้มีส่วนที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
  2. กิจกรรมการแข่งขันทักษะวิชาการนักเรียนระดับปฐมวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 201
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กเกิดการเรียนรู้จากการใช้สื่อสร้างสรรค์และหนังสือนิทาน
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ความสามารถในการใช้หนังสือนิทานและสื่อสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  3. การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนในการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กปฐมวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การจัดโครงการสื่อสร้างสรรค์ส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลท่าแพ ประจำปีงบประมาณ 2564 เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560 และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองนโยบายของรัฐบาลในด้านการเรียนรู้แก่เด็กที่ได้เกิดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เด็กมีส่วนร่วมในการผลิตสื่อ เด็กมีความกล้าแสดงออกโดยไดรับประสบการณ์ตรงจากการผ่านกิจกรรมที่เน้นการปฏิบัติจริง ตลอดจนการนำสื่อที่ผลิตมาประกอบกับการเล่านิทาน เพื่อให้เหมาะสมตามวัยและได้มรการพัฒนาครบทั้ง 4 ด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ตลอดจนการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การรู้จักช่วยเดหลือตนเอง และผู้เรียน มีความเตอบโตเป็นเยาวชที่ดีของสังคมต่อไป
  จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ ทั้งเด็กและผู้ปกครองให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี หลังจากนั้นก็ได้นำสื่อที่ผลิตมาประกอบกับการเล่านิทาน ซึ่งให้แต่ละกลุ่มนำสื่อที่ผลิตออกมานำเสนอด้านหน้าเวที ทำให้ผู้ปกครองได้รู้จักการนำวัสดุเหลือใช้มาผลิตเป็นสื่อเพื่อที่จะมาประกอบกับการเล่านิทานให้เด็กฟังที่บ้่นได้ เด็กๆมีความตื่นเต้นดีใจ ที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกับผู้ปกครอง และอีกอย่างในระหว่างการปฏิบัติกิจกรรมเด็กๆ สนุกสนานและสนใจกิจกรรมมาก ทั้งยั้งมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน รู้จักการร่วมแรงร่วมใจเพื่อที่จะทำงานให้สำเร็จตามเป้าหมาย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก ด้ายการจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่านสื่อสร้างสรรค์และหนังสือนิทาน
ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยร้อยละ 90 มีพัฒนาการที่ดีและมีความสุขในการทำกิจกรรมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2. เด็กปฐมวัยร้อยละ 90 เกิดการเรียนรู้จากการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการใช้สื่อสร้างสรรค์และหนังสือนิทาน
0.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมผู้ปกครองให้มีความรู้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ผ่านสื่อสร้างสรรค์และหนังสือนิทาน
ตัวชี้วัด : เข้าร่วมการพัฒนาทักษะการผลิตสื่อสร้างสรรค์และเทคนิคการเล่านิทาน เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย จำนวน 201 คน จำนวน 1 ครั้ง
0.00

 

3 3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนในการเล่านิทาน
ตัวชี้วัด : จำนวนกิจกรรมที่สร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 2 กิจกรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 201 170
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 201 170
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก ด้ายการจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่านสื่อสร้างสรรค์และหนังสือนิทาน (2) 2. เพื่อส่งเสริมผู้ปกครองให้มีความรู้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ผ่านสื่อสร้างสรรค์และหนังสือนิทาน (3) 3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนในการเล่านิทาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้มีส่วนที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาเด็กปฐมวัย (2) กิจกรรมการแข่งขันทักษะวิชาการนักเรียนระดับปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสื่อสารสร้างสรรค์ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5287-3-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุกัลยา สมัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด