กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ”
ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางธนัทถา หมื่นวุ่นหนู




ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4120-02-03 เลขที่ข้อตกลง 15/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 31 ตุลาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4120-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 31 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายจากโรคมะเร็งของสตรีในประเทศ ไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็น อันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรี พบได้ถึง ๓ คน ในประชากรหนึ่งแสนคน ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปาก มดลูกเสียชีวิต ประมาณ ๔,๕๐๐ ราย ส่วนใหญ่มีอายุประมาณ ๓๐ - ๕๐ ปี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็ง ปากมดลูกด้วยการตรวจ Pap Smear ถึงแม้กระบวนการตรวจเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูก จะง่าย สะดวก ราคาถูก แต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ มีทัศนคติ ที่ไม่ดีต่อการตรวจ Pap Smear ส่วนโรคมะเร็งเต้านม ผู้ป่วยมักไม่มีอาการ ผิดปกติในระยะเริ่มต้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่ต้องท้าการตรวจค้นหามะเร็งเต้านมใน ระยะเริ่มต้น การรักษามะเร็งเต้านมในปัจจุบันมีความก้าวหน้าไปมาก การค้นพบมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นสามารถรักษา ให้หายขาดได้และการรักษาอาจทำได้โดยการตัดเฉพาะก้อนมะเร็งออกไม่จ้าเป็นต้องผ่าตัดทั้งเต้านม ในทาง ตรงกันข้ามหากไม่มีการตรวจค้นหามะเร็งเต้านม รอจนกระทั่งมีอาการผิดปกติ มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยัง อวัยวะอื่น ๆ แล้ว และไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้
    สถานการณ์ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐ - ๖๐ ในเขตพื้นที่ รพ. สต.บ้านซาไก พบว่ากลุ่มเป้าหมาย 414 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี 2563 จำนวน 112 ราย ร้อยละ 27.05 ซึ่งเป้าหมายใน 5 ปี ต้องครอบคลุมให้ได้ร้อยละ 100 กลุ่มคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ยังไม่เข้ารับการตรวจฯจะเป็นกลุ่มที่ยาก ต่อการติดตามเข้ารับบริการ และการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองกลุ่มป้าหมาย 35 ปีขึ้นไปจำนวน  486 ราย ได้รับการคัดกรองโดยตนเอง 436 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.91 ( ข้อมูล HDC วันที่ กันยายน 2563) แต่จากการสุ่มที่ได้รับการประเมินจาก จนท. ผ่านการตรวจเพียงร้อยละ 20 สาเหตุไม่พบความผิดปกติ อาจเกิด จาก การตรวจที่ไม่ถูกต้อง เทคนิคหรือแบบการตรวจคัดกรองที่มีความซับซ้อนไม่เข้าใจ พร้อมทั้ง กลุ่มเป้าหมาย และ อสม. ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ดังนั้น ทีม อสม.เขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านซาไก จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2564 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแบบยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อหญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  2. หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 30-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนร้อยละ 80
  3. เพื่อกลุ่มเป้าหมายที่มีอาการผิดปกติได้รับการรักษาโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกได้ตามมาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรบ อสม. และแกนนำจิตอาสาเพื่อเป็นแบบอย่างและนำความรู้และแชร์ประสบการณ์แก่ผู้อื่น
  2. กิจกรรมลงพื้นที่ให้ความรู้/ประเมินในหญิงวัยเจริญพันธ์ที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย
  3. กิจกรรมรณรงค์และชักจูง/ติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อตรวจคัดกรอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม.และหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้และมีทักษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง       และมีความรู้เท่าทันเรื่องมะเร็งปากมดลูก 2.หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 30-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตามมาตรฐาน อย่าง
      มีคุณภาพ 3.ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงบริการรักษาพยาบาลด้วยโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกได้ตามมาตรฐาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมลงพื้นที่ให้ความรู้/ประเมินในหญิงวัยเจริญพันธ์ที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 18 กันยายน 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่ให้ความรู้ในกลุ่มหญิงเจริญพันธุ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมในกิจกรรมให้ความรู้่ ใน 4 หมู่บ้าน

 

0 0

2. อบรบ อสม. และแกนนำจิตอาสาเพื่อเป็นแบบอย่างและนำความรู้และแชร์ประสบการณ์แก่ผู้อื่น

วันที่ 19 ตุลาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จากการดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในวันที่ 19 ตุลาคม 2566 ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก มีจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 60 คน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า ร้อยละ 20 เป็นกลุ่มเป้าหมายใหม่ เนื่องจากการประชาสัมพันธ์ที่ทั่วถึง กลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์ได้ตระหนักถึงความจำเป็นและสำคัญที่ต้องทำการตรวจค้นมะเร็งในระยะเริ่มต้น เพื่อง่ายแก่การรักษาที่หายขาดได้ ดังนั้นกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ 30-60 ปี ที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในวันที่ 19 ตุลาคม 2566 นั้น ปรากฎว่ากลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกทั้งหมดยังไม่มีภาวะเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 60 คน และร้อยละ 20 เป็นกลุ่มเป้าหมายใหม่

 

60 0

3. กิจกรรมรณรงค์และชักจูง/ติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อตรวจคัดกรอง

วันที่ 25 ตุลาคม 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 7 และ หมู่ที่ 10

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในวันที่ 19 ตุลาคม 2566 ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก มีจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 60 คน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า ร้อยละ 20 เป็นกลุ่มเป้าหมายใหม่ เนื่องจากการประชาสัมพันธ์ที่ทั่วถึง กลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์ได้ตระหนักถึงความจำเป็นและสำคัญที่ต้องทำการตรวจค้นมะเร็งในระยะเริ่มต้น เพื่อง่ายแก่การรักษาที่หายขาดได้ ดังนั้นกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ 30-60 ปี ที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในวันที่ 19 ตุลาคม 2566 นั้น ปรากฎว่ากลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกทั้งหมดยังไม่มีภาวะเสี่ยง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อหญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 20 (นับรายใหม่เพิ่มจากปีก่อน)
0.00 20.00

 

2 หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 30-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนร้อยละ 80
ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 30-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80
0.00 100.00

 

3 เพื่อกลุ่มเป้าหมายที่มีอาการผิดปกติได้รับการรักษาโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกได้ตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่พบผิดปกติได้รับการรักษาร้อยละ 100
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อหญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (2) หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 30-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนร้อยละ 80 (3) เพื่อกลุ่มเป้าหมายที่มีอาการผิดปกติได้รับการรักษาโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกได้ตามมาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรบ อสม. และแกนนำจิตอาสาเพื่อเป็นแบบอย่างและนำความรู้และแชร์ประสบการณ์แก่ผู้อื่น (2) กิจกรรมลงพื้นที่ให้ความรู้/ประเมินในหญิงวัยเจริญพันธ์ที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย (3) กิจกรรมรณรงค์และชักจูง/ติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อตรวจคัดกรอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4120-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธนัทถา หมื่นวุ่นหนู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด